Page 24 -
P. 24

์
                                    ิ
                                 ื
                                                                   ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                             ิ
                                                                              ิ


                panicle disease) ของขาว (Prathuangwong et al. 2013) Exserohilum turcicum (ระยะที่มีการ
                สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ คือ Setosphaeria turcica เปนสาเหตุของโรคใบไหมแผลใหญในขาวโพด

                (northern corn leaf blight) (Petronella et al. 2020) Bipolaris zeicola เปนสาเหตุของโรค ใน

                ขาวโพด ขาวฟาง และขาวบาเลย (Cipollone et al. 2020) และ Fusarium หลายสปชีส เชน F.                  บทที่ 1

                moniliformae, F. subglutinans, F. sacchari และ F. andiyazi เปนสาเหตุของโรคยอดบิดหรือ

                พกกะบอง (pokkah boeng disease) ในออย (Vishwakarma et al. 2013; Zhang and Jeyakumar

                2018; Ziting et al. 2020)

                          โรคที่พบในแปลงเพาะปลูกโดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อกอโรคในดิน (soil-borne

                pathogen) พบวาสามารถแพรกระจายอยางกวางขวางทั่วพื้นที่การปลูกพืช บริเวณรอบราก

                (rhizosphere) มีกลุมของจุลินทรียหลายชนิดซึ่งมีผลโดยทางตรงหรือโดยทางออมตอสุขภาพและ

                การเติบโตของพืช บางชนิดเปนจุลินทรียที่มีประโยชน เชน แบคทีเรียที่สงเสริมการเติบโตของพืชซึง
                                                                                                                 ่
                เปนแบคทีเรียที่สัมพันธกับรากพืชหรือไรโซแบคทีเรีย (rhizobacteria) หรือที่ยอวา พีจีพีอาร (PGPR)

                สวนบางชนิดเปนจุลินทรียที่ไมมีประโยชนซึ่งเปนอันตรายตอพืช โดยลดความแข็งแรงและการเติบโต

                ของพืชหลายแนวทาง โรคพืชเกี่ยวของกับเชื้อกอโรคในดินยากที่จะคาดเดาหรือระบุลักษณะเฉพาะ

                ของโรค บางครั้งพืชอาจติดโรคไดมากกวา 1 โรค ในดินและบริเวณรอบรากพืชอาจมีปฏิสัมพันธ

                ระหวางจุลินทรียหลายชนิดตาง ๆ ซึ่งนำไปสูการควบคุมทางชีวภาพตอเชื้อกอโรค เชน ภาวะยับยั้ง

                ภาวะปรสิต และการสงเสริมการเติบโตของพืช เชื้อกอโรคในดินมีทั้งแบคทีเรีย รา และไวรัส

                หลายชนิด เชื้อกอโรคหลายชนิดอยูในดินในรูปแบบที่มีฤทธิ์ (active form) ซึ่งทำใหเกิดโรคไดทันที

                และบางชนิดอาจอยูในรูปแบบที่ไมมีฤทธิ์ (inactive form) แตเมื่อพบพืชที่เหมาะสมที่จะทำใหเกิดโรค

                ไดเชื้อกอโรคจะกลายเปนรูปแบบที่มีฤทธิ์ เชื้อกอโรคเหลานี้อาจจะอาศัยอยูในดินเปนเวลานานหรือ

                เปนเวลาสั้น ๆ ขึ้นอยูกับวงจรชีวิตหรือแหลงที่อยู ราบางชนิดอยูรอดในรูปแบบของสเคลอโรเทียม

                (sclerotium) ซึ่งเปนรูปแบบที่ไมมีฤทธิ์ ราเปนสาเหตุที่สำคัญที่สุดของการเกิดโรคพืช ตัวอยาง

                รากอโรคในดิน เชน สกุล Fusarium, Rhizoctonia, Verticillium, Pythium, Phytophthora พืชที่เปนโรค

                สามารถรูไดจากลักษณะที่เปลี่ยนแปลงตาง ๆ หรืออาการของโรค เชน ใบจุด (leaf spot) ใบไหม

                (leaf blight) ปลายกิ่งแหง (shoot blight) เหี่ยว (wilt) ปุมปม (crown gall) เนาเละ (soft rot)

                การสลายของราก (root decay) การเปลี่ยนสีของเนื้อเยื่อ (tissue discoloration) (Kamal et al. 2015)

                                                                      ื
                          วิธีการที่ใชเพื่อปองกันพืชจากศัตรูพืชและเช้อกอโรคสวนใหญเกี่ยวของกับการใชสารเคมี
                ฆารา การใชสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตอเนื่องกันเปนเวลานานทำใหการควบคุมโรคพืชหรือกำจัด

                โรคพืชที่มีความรุนแรงจำเปนตองเพิ่มปริมาณการใชทุกป การใชสารเคมีฆาราในระบบนิเวศเกษตร

                จะทำลายจุลินทรียที่มีประโยชน รวมทั้งสัตวที่มีประโยชนในดิน นอกจากนั้นการใชสารเคมีเหลานี้




                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      15
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29