Page 21 -
P. 21

ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                    ิ
                                             ิ
                                 ื
                                                ์
                                                                   ิ


           ประโยชนสวนอีกฝายไมไดรับทั้งประโยชนหรืออันตราย  จุลินทรียที่สัมพันธกับพืชสันนิษฐานวาเปน
           เปนพวกที่อิงอาศัยกับพืช เพราะจุลินทรียที่มีอยูมักไมคอยสงผลในเชิงบวกหรือเชิงลบอยางชัดเจน

           กับพืชและในขณะที่มีจุลินทรียนั้นอาจทำใหเกิดผลกับเชื้อกอโรคหลายอยาง ปฏิสัมพันธแบบ

      บทที่ 1   ภาวะอิงอาศัยแสดงโดยการลดลงของการติดเชื้อกอโรคและความรุนแรงของโรค (disease severity)

                                                      ี
                                                 ่
           ปฏิสัมพันธแบบภาวะเปนกลางภาวะที่สิงมีชวิต 2 ชนิดอยูร่วมกันแบบทีสิ่งมีชวิตทั้ง 2 ชนิดไมไดรับ
                                                                                       ี
                                                                                 ่
           ทั้งประโยชนและอันตราย เปนปฏิสัมพันธทางชีวภาพเมื่อความหนาแนของประชากรของสปชสหนึ่ง
                                                                                                      ี
           ไมมีผลกระทบใด ๆ กับสปชีสอื่น เกี่ยวของกับการควบคุมทางชีวภาพเพราะเชื้อกอโรคไมสามารถ
           เพิ่มจำนวนประชากร ปฏิสัมพันธแบบการแขงขัน คือ การแขงขันระหวางภายในสปชีสและระหวาง

           สปชีสเปนผลใหการเจริญลดลง ควบคุมทางชีวภาพเกิดจากการที่จุลิทรียที่ใชเปนตัวควบคุม

           ทางชีวภาพแขงขันกับเชื้อกอโรคในเรื่องของสารอาหารในพืชหรือบริเวณรอบ ๆ พืช  ปฏิสัมพันธแบบ

           ภาวะอาศัยเสียประโยชน คือ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต 2 สปชีสซึ่งสปชีสหนึ่งถูกยับยั้งหรือ

           ถูกทำลายสวนอีกสปชีสหนึ่งไมไดรับผลกระทบ  ปฏิสัมพันธแบบภาวะปรสิต คือ ภาวะที่สิ่งมีชีวิต 2

           ชนิดอยูรวมกันแบบที่ฝายหนึ่งซึ่งเปนปรสิตไดรับประโยชนจากอีกฝายหนึ่งซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตใหอาศัย ที่

           เปนแบบฉบับคือปรสิตไดรับสารอาหารจากสิ่งมีชีวิตใหอาศัย และความสัมพันธนี้เปนอันตรายตอ

           สิ่งมีชีวิตใหอาศัย การควบคุมทางชีวภาพเปนผลจากกิจกรรมของปรสิตตอเชื้อกอโรคพืช ซึ่งถือวา

           เปนปรสิตของพืช ที่นาสนใจ คือ การติดเชื้อกอโรคที่ไมรุนแรงอาจนำไปสูการควบคุมทางชีวภาพ

           เชื้อกอโรคที่รุนแรงมากกวาโดยการกระตุนระบบการปองกัน ปฏิสัมพันธแบบสุดทาย คือ

           การลาเหยื่อ หมายถึงการลาและการฆาสิ่งมีชีวิตหนึ่งโดยสิ่งมีชีวิตอื่น การลาเหยื่อ เชน ไสเดือนฝอย

           ที่กินราการควบคุมทางชีวภาพอาจเปนผลจากปฏิสัมพันธทั้งหมดในระดับตาง ๆ ขึ้นอยูกับ

           สิ่งแวดลอมที่ไสเดือนฝอยนั้นอยู (Pimenta et at. 2009)



           ลักษณะของยีสตที่เปนประโยชนสำหรับใชในการควบคุมทางชีวภาพ


                     ในบรรดาจุลินทรียปฏิปกษ ยีสตปฏิปกษไดรับความสนใจเพราะมีหลายลักษณะที่

           เหมาะสมสำหรับใชเปนตัวควบคุมทางชีวภาพ (Freimoser et at. 2019; Pimenta et at. 2009) ยีสตที      ่

           อยูในชีวภาค (biosphere) ไมไดเขาไปอยูแบบสุม ชุมชีพของยีสตอาจถูกกำหนดโดยแหลงที่อยู

           (habitat) (Lachance and Starmer 1998) ยีสตอาจเปนพวกที่อาศัยในแหลงที่อยูหลากหลาย (habitat

           generalist) หรือเปนพวกที่อาศัยในแหลงที่อยูเฉพาะ (habitat specialist) ขึ้นกับแหลงที่อยูและ

           ภาวะการณทางสรีรวิทยา โดยยีสตพวกที่อาศัยในแหลงที่อยูหลากหลาย สามารถใชสารประกอบ

           คารบอนที่หลากหลายดวยเหตุนี้ทำใหมีชีวิตรอดและเจริญในสภาพแวดลอมตาง ๆ  สวนยีสตพวกที่

           อาศัยในแหลงที่อยูเฉพาะมีภาวะการณทางสรีรวิทยาที่ธรรมดาและไดพลังงานจากสารประกอบ




     12  การใชยีสตสำหรับการควบคุมทางชีวภาพโรคพืชและโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยวที่เกิดจากรา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26