Page 20 -
P. 20

ิ
                                    ิ
                                 ื
                                             ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                   ิ
                                                ์


                Gnanamanickan 2008) การใชวิธีควบคุมทางชีวภาพไดรับความสนใจเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจาก
                เปนวิธีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม วิธีการที่ใชในการควบคุมทางชีวภาพอางอิงสมมุติฐานที่วา

                สิ่งแวดลอมไมถูกรบกวนมีการเกิดโรคนอยเนื่องจากมีตัวตานธรรมชาติ (natural antagonist) ดังนั้น

                การนำสิ่งมีชีวิตปฏิปกษ (antagonistic organism) เขาไปในสิ่งแวดลอมที่ถูกรบกวนจะชวยควบคุม              บทที่ 1

                                   
                การเกิดโรค การใชตัวควบคุมทางชีวภาพที่มีประสิทธิภาพ และทำใหการควบคุมประสบความสำเร็จ
                ตองมีหลายลักษณะ เชน การเปนปฏิปกษ (antagonism) ตอเชื้อกอโรค มีชีววิทยาที่รูกันเปนอยางดี

                ความจำเพาะกับเชื้อกอโรค ผลิตและใชงาย และปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม หลักของการควบคุม

                ทางชีวภาพนี้สอดคลองกลยุทธิ์ของการทำการเกษตรแบบยั่งยืน



                ปฏิสัมพันธที่เอื้อตอการควบคุมทางชีวภาพ


                          สำหรับพืชและเชื้อกอโรคตลอดวงจรชีวิตจะเกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ปฏิสัมพันธ

                เหลานี้มีอิทธิพลกับสุขภาพของพืชหลายทาง ดังนั้นความเขาใจกลไกการควบคุมทางชีวภาพจะเปน

                ประโยชน สำหรับการเกิดปฏิสัมพันธสิ่งมีชีวิตตองมีการสัมผัสโดยทางตรงหรือทางออม Odum

                (1953) เสนอวาปฏิสัมพันธของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดมาจากผลที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตแตละชนิด (Pimenta et

                al. 2009) ชนิดของปฏิสัมพันธ แบงเปน ภาวะพึ่งพากัน (mutualism) การไดรับประโยชนรวมกัน

                (protocooperation) ภาวะอิงอาศัย (commensalism) ภาวะเปนกลาง (neutralism) การแขงขัน

                (competition) ภาวะอาศัยเสียประโยชน (amensalism) ภาวะปรสิต (parasitism) และการลาเหยื่อ

                (predation)

                          ปฏิสัมพันธแบบภาวะพึ่งพากันเปนความปฏิสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต 2 หรือมากกวา 2

                สปชีส และสปชีสทั้ง 2 สปชีสไดรับประโยชน เชน ในกรณีของเชื้อราไมคอรไรซา (mycorrhizal fungi)

                ซึ่งเปนปฏิสัมพันธแบบแทจริงตลอดวงจรชีวิต ใขณะที่ทั่วไปมักเปนปฏิสัมพันธแบบไมแท

                (facultative) หรือแบบฉวยโอกาส (opportunistic) เชน แบคทีเรีย Rhizobium ที่สามารถเพิ่มจำนวนทั้ง

                ในดินและในปมรากพืชตระกูลถั่ว ภาวะพึ่งพากันนี้สามารถมีสวนรวมในการควบคุมทางชีวภาพโดย

                การเสริมสรางพืชดวยการเพิ่มสารอาหารหรือโดยกระตุนความสามารถในการปองกันของพืช สวน

                ปฏิสัมพันธแบบการไดรับประโยชนรวมกัน เปนความสัมพันธแบบหนึ่งของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ตางฝาย

                ตางไดรับประโยชนซึ่งกันและกันในขณะที่มาดำรงชีพรวมกัน แตการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ชนิด

                                                                                                                ิ
                ไมขึ้นอยูกับอีกฝายหนึ่ง จุลินทรียหลายชนิดที่จัดเปนตัวควบคุมทางชีวภาพถือวาเปนสิ่งที่ทำใหเกด
                ภาวะพึ่งพากันแบบไมแท ผลคือทำใหเกิดปฏิสัมพันธแบบการไดรับประโยชนรวมกัน เนื่องจากการ

                อยูรอดไมคอยขึ้นอยูกับพืชเฉพาะใด ๆ และการกดโรคหรือการกำจัดโรคจะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับ

                สภาพแวดลอม ปฏิสัมพันธแบบภาวะอิงอาศัยเปนการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ฝายหนึ่งได




                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      11
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25