Page 18 -
P. 18

ิ
                                    ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                 ื
                                                                              ิ
                                                ์
                                                                   ิ


                    1          การใชยีสตสำหรับการควบคุมทางชีวภาพโรคพืช



                                    และโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยวที่เกิดจากรา


                                                                                               สาวิตรี ลิ่มทอง           บทที่ 1




                          การควบคุมทางชีวภาพ (Biological control หรือ คำยอ biocontrol) เปนปรากฎการณ

                ธรรมชาติที่เกิดอยางกวางขวางในสภาพแวดลอม ประกอบดวยการควบคุมการเจริญของประชากร

                ของสิ่งมีชีวิตหนึ่งดวยสิ่งมีชีวิตปฏิปกษอีกชนิดหนึ่งหรือมากกวาหนึ่งชนิด การควบคุมเกิดจาก

                อิทธิพลของเชื้อกอโรค ตัวใหอาศัย (host) ไมวาจะเปนพืชหรือสัตว และสิ่งแวดลอม การควบคุม

                ทางชีวภาพมีศักยภาพที่จะเกิดกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เนื่องจากสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเชื้อกอโรค และ

                อาจเกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิตหลายสปชีสที่แตกตางกัน ที่เปนผลใหเกิดความสมดุลของระบบนิเวศ

                แนวคิดที่วามีบางสปชีสสามารถลดประชากรของสปชีสอื่นมีมานาน ชาวจีนชนชาติแรกที่ใชกลยุทธ

                การควบคุมทางชีวภาพ เมื่อตนศตวรรษที่ 3 โดยใชมดแดง (Oecophylla smaragdina) ควบคุมผีเสื้อ

                ที่เปนแมลงในอันดับ Lepidoptera ซึ่งกินพืชเปนอาหาร ในพืชตระกูลสม สวนกรณีที่มี

                เอกสารรายงานอยางเปนทางการถึงความสำเร็จในการควบคุมทางชีวภาพ คือ การนำดวง Rodolia

                cardinalis จากประเทศออสเตรเลียมายังแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. 1888 เพื่อควบคุม

                เพลี้ยหอยฝาย (cottony cushion scale) ที่มีชื่อวิทยาศาสตรวา Icerya purchasi พบวา 2 ปหลังจาก

                นั้น R. cardinalis ควบคุมเพลี้ยหอยฝายไดอยางสมบูรณ (van den Bosch et al. 1982) ขอมูล

                ดังกลาวแสดงวาการควบคุมทางชีวภาพนี้เริ่มใชกับการควบคุมแมลงและวัชพืช หลังจากนั้นมีการใช           
                                                               
                กวางขวางขึ้น จนปจจุบันใชกับสัตวไมมีกระดูกสันหลัง สัตวมีกระดูกสันหลัง โรคพืช และโรคหลัง

                การเก็บเกี่ยว (postharvest disease) ของสวนตาง ๆ ของพืช (Pimenta et al. 2009)

                                                     ี
                          คำศัพท “การควบคุมทางชวภาพ” ใชในสาขาชีววิทยาที่แตกตางกันโดยที่สาขาใชมาก คือ
                                                                                                         
                กีฏวิทยา และโรคพืช สำหรับทางดานกีฏวิทยาการควบคุมทางชีวภาพใชเพื่ออธิบายการใชแมลงซึง
                                                                                                                 ่
                กินสัตวอื่น ที่เรียกวาแมลงนักลา (predatory insect) เพื่อลดประชาการของแมลงที่เปนศัตรูพืชชนิด

                อื่น สวนดานโรคพืชใชกับการใชจุลินทรียปฏิปกษ (microbial antagonist) เพื่อลดการเกดโรค รวมทั้ง
                                                                                                    ิ
                การใชเชื้อกอโรคที่มีความจำเพาะเพื่อควบคุมประชากรวัชพืช ในทั้ง 2 กรณีสิ่งมีชีวิตที่ใชควบคุม

                สิ่งที่รบกวนหรือเชื้อกอโรค เรียกวา ตัวควบคุมทางชีวภาพ (biological control agent) หรือที่เรียกยอ

                วา BCA ยิ่งไปกวานั้นศัพท “การควบคุมทางชีวภาพ” นี้ยังใชกับการใชผลิตภัณฑจากธรรมชาติ

                (natural product) ที่ไดจากการสกัดหรือการหมักจากแหลงตาง ๆ นอกจากนั้น สมาชิกของ U.S.




                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม       9
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23