Page 27 -
P. 27

ื
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                             ิ
                                                ์
                                                                              ิ
                                                                   ิ
                                    ิ


                     โรคเนาของผลไมเหนี่ยวนำใหเกิดไดจากการที่ผลไมมีแผลระหวางการเก็บเกี่ยว บรรจุ
           เก็บ และขนสง เชนเดียวกับภาวะที่เชื้อกอโรคชอบ เชน มีน้ำและสารอาหารมาก พีเอชต่ำ และการที่

           ความตานทานลดลงหลังการเก็บเกี่ยว (Nunes 2012) นอกจากนั้นอาจจะเขาทางชองเปดธรรมชาติ

      บทที่ 1   บนผิวของผลไม โดยทั่วไปการเขาทำลายผลไมของราเปนแบบแฝง คือ เมื่อราสรางเสนใยอยูภายใน

           เซลลของผลไมแลวจะหยุดการเติบโตชั่วคราว และแฝงตัวอยูระหวางเซลลบริเวณผิวของผลไม

           จนกระทั่งผลไมเขาสูระยะที่มีการเติบโตเต็มที่ มีสารอาหาร มีน้ำตาล ความชื้น และพีเอชที่เหมาะสม

           ราจึงเริ่มเจริญและแสดงอาการของโรค ระหวางกระบวนการติดเชื้อราหลายชนิดสรางสารพิษซึ่ง

                                                                                               ิ
           อาจเขาไปในหวงโซอาหาร โดยผานทางผลไมสด และผลิตภัณฑจากผลไม สงผลใหเกดอันตรายตอ
           มนุษยและสัตว (Zhang et al. 2020) เชน Penicillium expansum ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิดโรคราสีน้ำเงิน

           (blue mold desiease) ในผลไมหลายชนิดซึ่งนอกจากจะทำใหเกิดการเนาและสลายตัวของผลไมแลว

           ยังมีการปนเปอนของพาทูลิน (patulin) ซึ่งเปนสารพิษจากราที่ทำใหเกิดกำเนิดทารกวิรูป

           (teratogenic mycotoxin) กอมะเร็ง (carcinogenic mycotoxin) และเปนพิษภูมิคุมกัน (immunotoxic

           mycotoxin) (Chen et al. 2017) การควบคุมโรคหลังเก็บเกี่ยวเหลานี้มักทำโดยใชสารเคมีฆารามา

           เปนเวลานาน แตการใชสารเคมีฆารามากเกินไปทำใหเกิดปญหาหลายอยาง เชน เกิดการตกคาง

           เกิดภาวะมลพิษ และเพิ่มความตานทานตอสารเคมีฆารา ดังนั้นจึงจำเปนตองหาแนวทางที่ปลอดภัย

           และมีประสิทธิภาพเพื่อควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยวอยางเรงดวน (Zhang et al. 2020)

                     หลังจาก Gutter และ Littauer รายงานการใช Bacillus subtilis ตอตานเชื้อกอโรคใรผลสม

           ใน ค.ศ. 1953 การควบคุมทางชีวภาพโรคหลังเก็บเกี่ยวโดยใชจุลินทรียไดรับความสนใจอยาง

           กวางขวาง ในบรรดาจุลินทรียปฏิปกษ ยีสตและราคลายยีสต (yeast-like fungi) ไดรับความสนใจ

           เนื่องจากยีสตเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แสดงการควบคุมที่มีประสิทธิภาพตอเชื้อกอโรค มีความทน

           ตอความเคน (stress) มากพอ และมีศักยภาพที่จะถูกปรับปรุงพันธุกรรม นอกจากนั้นยังมีการพัฒนา

           อยางดีสำหรับการเพาะเลี้ยง การหมัก การเก็บ และการจัดการยีสตปฏิปกษเหลานี้ ยิ่งกวานั้นมีการ

           ใชยีสตในอาหารและเครื่องดื่มมาเปนเวลานานและในปจจุบันมีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมอาหาร

           ดังนั้นการใชยีสตจึงถือวามีความปลอดภัยและเปนที่ยอมรับไดงาย จากขอดีเหลานี้ยีสตจึงเปน

           ทางเลือกที่นาสนใจที่จะใชแทนสารเคมีฆารา ที่ผานมามากกวา 20 ป การใชยีสตเปนตัวควบคุม

           ทางชีวภาพมีความกาวหนาอยางมาก ซึ่งรวมถึงการแยกและการคัดเลือกสายพันธุยีสต การศึกษา

           กลไกการเปนปฏิปกษ การปรับปรุงประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพ และการพัฒนาสูตร

           โดยเฉพาะยีสตปฏิปกษที่มีความสามารถอยางดีเยี่ยมในการควบคุมทางชีวภาพหลายชนิดไดมี

           การพัฒนาและจดทะเบียนเปนผลิตภัณฑทางการคา อยางไรก็ตามการใชยีสตปฏิปกษในการจัดการ

           โรคหลังเก็บเกี่ยวอยางแพรหลายยังเผชิญกับความทาทายหลายอยาง ดังนั้นความเขาใจกลไก




     18  การใชยีสตสำหรับการควบคุมทางชีวภาพโรคพืชและโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยวที่เกิดจากรา
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32