Page 32 -
P. 32

ิ
                                                ์
                                    ิ
                                                                              ิ
                                 ื
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                   ิ


                การเจริญของราโรคพืช และใชเปนตัวควบคุมทางชีวภาพได (Into et al. 2020b; Khunnamwong et al.
                2020; Konsue et al. 2020) ตัวอย่างเช่น ยีสตปฏิปกษซึ่งแยกจากผิวใบขาว 3 สายพันธุ คือ

                Torulaspora  indica  DMKU-RP31,  T.  indica  DMKU-RP35  แล ะ   Wickerhamomyces  anomalus

                DMKU-RP25 พบวาสามารถควบคุมโรคกาบใบแหงของขาวที่เกิดจากรา R. solani (Into et al.                        บทที่ 1

                2020b) นอกจากนั้นยังพบวา T. indica DMKU-RP31 สามารถความคุมโรคกลาขาวเนาที่มีสาเหตุ

                จาก C. lunata และ H. oryzae ไดสมบูรณ (Limtong et al. 2020) และยังพบวายีสตปฏิปกษสายพันธุ

                นี้ยับยั้งการเจริญของ Lasiodiplodia theobromae ราสาเหตุของโรคผลเนาที่เกิดกับผลมะมวง

                หลังเก็บเกี่ยวได (Konsue et al. 2020) ในขณะที่ Wickerhamomyces anomalus YE-42 ซึ่งแยกจาก

                ผิวใบขาว พบควบคุมโรคกลาขาวเนาที่มีสาเหตุจาก C. lunata และ H. oryzae ไดสมบูรณ สวน W.

                anomalus DMKU-RP04 ซึ่งแยกจากผิวใบขาว พบวาความคุมโรคกลาขาวเนาที่มีสาเหตุจาก H.

                oryzae ไดสมบูรณ (Limtong et al. 2020) สำหรับ Pseudozyma hubeiensis YE-21 ซึ่งแยกจากผิวใบ

                ขาวโพดพบวายับยั้งการเจริญของ L. theobromae ราสาเหตุของโรคผลเนาที่เกิดกับผลมะมวง

                หลังเก็บเกี่ยว  Papiliotrema aspenensis DMKU-SP67 ซึ่งแยกจากผิวใบออย ยับยั้งการเจริญของ

                Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุของโรคแอนแทร็กโนสที่เกิดกับผลมะมวงหลังเก็บเกี่ยว

                (Konsue et al. 2020) สวนยีสตปฏิปกษซึ่งแยกจากเนื้อเยื่อใบขาวและเนื้อเยื่อใบขาวโพด คือ W.

                anomalus DMKU-RE13 และ W. anomalus DMKU-CE52 ตามลำดับ พบวาสามารถลดการเกิด

                โรคกาบใบแหงที่มีสาเหตุจาก R. solani ได (Khunnamwong et al. 2020) ยีสต์ปฏิปกษนอกจากจะ

                แยกไดจากใบพืชยังอาจแยกไดจากรากพืช เชน Kloeckera apiculate ที่แยกจากรากของสม พบวา

                ควบคุมเชื้อกอโรคหลังการเก็บเกี่ยวบนผลสมและองุน ซึ่งเกิดจาก Penicillium italicum และ B.

                cinerea ตามลำดับ ไดอยางมีประสิทธิภาพ (Long et al. 2005) และดิน เชน Meyerozyma caribbica

                (ชื่อเดิม Pichia caribbica) ที่แยกจากดินสวนผลไมเปนยีสตปฏิปกษที่มีประสิทธิภาพในการควบคุม

                ผลแอปเปลและผลสาลี่หลังเก็บเกี่ยว (Zhao et al. 2012) นอกจากนั้นยีสตปฏิปกษอาจจะแยกจาก

                แหลงที่อยูตามธรรมชาติที่เปนเอกลักษณ เชน Leucosporidium scottii At17 ที่เปนยีสตทนความเย็น

                (cold-tolerant yeast) ซึ่งแยกจากดินจากแอนตารกติก (Antarctic soil) พบวาเปนยีสตปฏิปกษที่มี

                ประสิทธิภาพในการตอตาน P. italicum และ B. cinerea ซึ่งเปนสาเหตุของโรคราสีน้ำเงิน และ

                โรคราสีเทา (grey mold) ตามลำดับ (Vero et al. 2013) Rhodosporidium paludigenum ยีสตทะเล

                (marine yeast) ซึ่งเปนยีสตทนแรงดันออสโมซีส (osmotolerant yeast) ที่แยกจากทะเลจีนตะวันออก

                (East China Sea) ยับยั้งการเจริญของ P. expansum บนผลสาลี่ (Wang et al. 2010) ยีสตที่แยกจาก

                พีต (peat) พบวามีหลายสายพันธุที่เปนยีสตปฏิปกษ เชน Starmerella kuoi DMKU-SPS13-6,

                Hanseniaspora lindneri DMKU ESS10-9 และ Piskurozyma taiwanensis DMKU-SPS12-2 สามารถ




                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      23
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37