Page 31 -
P. 31
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
ิ
ิ
สามารถยับยั้งการเจริญและการพัฒนาของรากอโรค และบางชนิดมีรายงานวาสงเสริม
ประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพโรคหลังเก็บเกี่ยว เชน กรดซินนามิก (cinnamic acid) เพิ่ม
ประสิทธิภาพการควบคุมของ P. laurentii ซึ่งแสดงศักยภาพของการใชสารสกัดจากพืชรวมกับยีสต
บทที่ 1 ปฏิปกษสำหรับการควบคุมโรคพืชหลังเก็บเกี่ยว (Li et al. 2019; Zhang et al. 2020) การใชสารเคมี
หรือวิธีการตอตานราวิธีการอื่นสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษ
เชน มีรายงานวาแคลเซียมคลอไรดเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมของยีสตปฏิปกษ เชน Cryptococcus
albidus, Meyerozyma caribbica, Mey. guilliermondii, Pichia membranifaciens และ Vishniaco-
zyma victoriae (Gramisci et al. 2018; Tournas et al. 2019) ไคโทซาน (chitosan) ซึ่งเปนสารที่มี
สมบัติตอตานราและสามารถกระตุนความตานทานของพืช พบวาสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ
ี
การควบคุมทางชวภาพของยีสตปฏิปกษ เชน Candida saitoana, P. laurentii, P. membranaefaciens
(Meng et al. 2010; Zhou et al. 2016) นอกจากนั้นมีรายงานวาโซเดียมไบคาร์บอเนต (sodium
bicarbonate) เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพของ P. laurentii และ M. pulcher-
rima (Janisiewicz et al. 2008) โบรอน (boron) เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพของ P.
laurentii (Cao et al. 2012) และน้ำตาลบางชนิด เชน มอลโทส (maltose) แลกโทส (lactose) เพิ่ม
ประสิทธิภาพการควบคุมทางของ Candida oleophila (Zheng et al. 2019)
นอกจากนี้การใชยีสตปฏิปกษรวมกับสารเคมีฆาราในปริมาณต่ำ ๆ สารกลุมไอโพรไดโอน
(iprodione) ไทอะเบนดาโซล (thiabendazole) และอิมาซาลิล (imazalil) มีผลใหประสิทธิภาพ
การควบคุมทางชีวภาพเหมือนกันกับการใชสารเคมีฆาราในปริมาณที่ใชในเชิงพาณิชยเพียงอยาง
เดียว ซึ่งถือวาเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดการใชสารเคมีฆารา (Vero et al. 2013; Zhang et al.
2020)
แหลงของยีสตปฏิปกษ
จากการที่ปรากฎศัตรูพืชชนิดใหม ๆ ความทนตอสารเคมีฆารา และความคาดหวังของ
ผูบริโภค ทำใหเกิดความตองการกลยุทธใหม ๆ สำหรับการปองกันศัตรูพืชอยางมาก การใช
จุลินทรียปฏิปกษเปนแนวทางหนึ่งโดยเฉพาะอยางยิ่งยีสตเปนจุลินทรียที่นาสนใจสำหรับพัฒนาเปน
ตัวควบคุมทางชีวภาพ (Pretscher et al. 2018) จุลินทรียปฏิปกษมักพบอยูตามธรรมชาติที่ผลไมและ
พืชผัก ยีสตหลายชนิดพบเปนสวนหนึ่งของจุลินทรียซึ่งอยูที่ผิวใบพืช (phylloplane) (Into et al.
2020a; 2020b; Limtong and Kaewwichian 2014; Limtong et al. 2014; Limtong and Kaewwichian
2015; Nasanit et al. 2016; Srisuk et al. 2019) ยีสตหลายชนิดพบในเยื่อใบพืช (Khunnamwong et al.
2020) โดยพบวามีหลายชนิดทั้งที่อยูในไฟลัม Ascomycota และ Basidiomycota สามารถยับยั้ง
22 การใชยีสตสำหรับการควบคุมทางชีวภาพโรคพืชและโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยวที่เกิดจากรา