Page 21 -
P. 21
ิ
ิ
ิ
ื
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โซ่คุณค่า
ของธุรกิจโรงสีข้าว
2.2) การตอบโต้ของผู้ที่อยู่ในอุตสาหกรรม
การตอบโต้ของผู้ท่อยู่ในอุตสาหกรรมเป็นการขัดขวางผู้ท่เข้ามาใหม่ไม่ให้เข้ามาสู่
ี
ี
อุตสาหกรรมได้ง่าย เป็นกรณีตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ โดยการตอบโต้นี้จะมีมากหรือน้อยสามารถดูได้
�
ี
จากการผู้ท่อยู่ในอุตสาหกรรมมีทรัพยากรเหลือใช้ มีกาลังการผลิตท่เพียงพอสาหรับความต้องการใน
�
ี
อนาคตที่จะเพิ่มสูงขึ้น จะสามารถตอบโต้ผู้ที่เข้ามาใหม่ได้มาก อุตสาหกรรมนั้นมีอัตราการเติบโตต�่าลง
ท�าให้ผู้ที่อยู่ก่อนต้องพยามรักษาส่วนแบ่งการตลาดของตนไว้
3) การทดแทนกันของสินค้า
สินค้าทดแทน คือ สินค้าที่ดูเหมือนจะแตกต่างหรือเป็นสินค้าคนละชนิด แต่ในสายตาของ
ื
ึ
ผู้บริโภคหรือผู้ซ้อสามารถทดแทนกันได้ ซ่งระดับการทดแทนอาจทดแทนได้มากหรือน้อย แตกต่าง
�
้
�
ี
้
กันไป อาทิ นาเต้าหู้สามารถทดแทนนานมวัว บรรจุภัณฑ์พลาสติกท่มีนาหนักเบา ราคาถูกนาเข้ามา
�
้
�
ั
ทดแทนบรรจุภัณฑ์แก้วท่มีนาหนักและราคามากกว่า ดังน้นหากสินค้าของบริษัทมีสินค้าประเภทอ่น
้
ื
ี
�
สามารถทดแทนได้ง่ายหรือมากย่อมมีการแข่งขันมาก
ี
ั
ี
ี
ปัจจัยท่จะพิจารณาว่าเป็นสินค้าท่ทดแทนกันได้มากหรือน้อยน้นได้แก่ ราคาสินค้าท่ทดแทน
ั
้
ี
นนมีความน่าจูงใจหรือไม่ คุณภาพ ความพึงพอใจท่ได้รับจากการบริโภคสินค้าทดแทนเป็นอย่างไร ต้นทุน
ในการเปลี่ยนไปใช้สินค้าทดแทน
4) อ�านาจการต่อรองของผู้จ�าหน่ายวัตถุดิบ
�
้
ั
ึ
ั
ื
ี
�
ผู้จาหน่ายวัตถุดิบมบทบาทสาคญในด้านต้นทุนการผลิต เน่องจากหากวตถุดบมีราคาสูงขน
ิ
จะส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต ทาให้ต้นทุนสูงข้นตามไปด้วย ดังน้นหากผู้จาหน่ายปัจจัยการผลิต
ึ
�
ั
�
�
มีอานาจการต่อรองสูงย่อมทาให้ผู้ผลิตได้รับผลก�าไรลดลง การพิจารณาว่าผู้จาหน่ายวัตถุดิบมีอานาจ
�
�
�
ั
�
ึ
การต่อรองมากหรือน้อยน้นข้นกับ (1) ผู้จาหน่ายการผลิตมีอานาจการต่อรองมากในตลาดเพียงใด และ
�
(2) การที่ผู้จ�าหน่ายปัจจัยการผลิตจะเปลี่ยนมาเป็นผู้ผลิตเองหรือไม่
ี
ซึ่งการท่ผู้จาหน่ายวัตถุดิบมีอานาจการต่อรองมากในตลาดเพียงใดข้นกับปัจจัยดังต่อไปน ้ ี
�
ึ
�
�
ู
ั
ุ
ั
ิ
ั
�
จานวนผ้จาหน่ายวตถดิบ วตถุดบเป็นวตถดิบทมวตถุดบอนทดแทนได้มากหรือน้อย ผ้จาหน่ายเป็น
�
ู
ุ
ั
ี
ิ
ื
่
ี
่
ื
ผู้ผลิตวัตถุดิบรายใหญ่ ผู้ซ้อวัตถุดิบเป็นผู้ซ้อรายใหญ่หรือรายเล็ก ต้นทุนการเปล่ยนวัตถุดิบมาก
ี
ื
หรือน้อย เป็นต้น
อัจฉรา ปทุมนากุล และคณะ 19