Page 18 -
P. 18
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
์
ิ
ิ
อย่างไรก็ตามพบว่า ในช่วงปี 2550 เป็นต้นมาอุตสาหกรรมโรงสีข้าวเร่มประสบปัญหาใน
ิ
ื
�
ี
การดาเนินธุรกิจ โดยเฉพาะเม่อรัฐได้เปล่ยนนโยบายแทรกแซงกลไกตลาดข้าวเปลือกจากโครงการ
รับจ�าน�าข้าวเปลือกในปลายทศวรรษ 2550 มาเป็นโครงการประกันรายได้ขั้นต�่า ท�าให้โรงสีข้าวที่เคย
ได้รับผลประโยชน์จากนโยบายรัฐต้องหันมาแข่งขันกันจากความสามารถเชิงธุรกิจ และประสิทธิภาพ
การจัดการมากขึ้น ประกอบกับแรงกดดันจากการมีก�าลังการผลิตส่วนเกินในอุตสาหกรรมโรงสีข้าวสูง
และภาวะการส่งออกข้าวของไทยลดลงจากความสามารถในการแข่งขันของไทยในตลาดข้าวโลกลดลง
ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในชนบทส่งผลให้ธุรกิจโรงสีข้าวจานวนไม่น้อยเร่มมีปัญหาในการดาเนิน
�
ิ
�
�
�
ธุรกิจ เกิดปัญหาการขาดสภาพคล่อง และนาไปสู่ปัญหาการชาระคืนสินเชื่อของโรงสีข้าว ทาให้ธนาคาร
�
ื
พาณิชย์เร่มลดการให้สินเช่อแก่โรงสีข้าว ปัจจัยเหล่าน้ส่งผลให้โรงสีข้าวจานวนหน่งไม่สามารถแข่งขัน
ิ
ึ
�
ี
ในอุตสาหกรรมโรงสีข้าวได้ต้องออกจากตลาดไป ดังจะเห็นได้จากจานวนโรงสีข้าวในประเทศมีการลดลง
�
อย่างต่อเนื่อง
ภายใต้สภาวะการณ์การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นของอุตสาหกรรมโรงสีข้าว และสภาพแวดล้อม
ั
ั
ั
่
�
ี
ี
ี
ทเปล่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ยงมโรงสข้าวจานวนมากทสามารถปรบตัวให้สามารถแข่งขนได้ใน
ี
่
ี
อุตสาหกรรม โรงสีข้าวเหล่านี้ได้มีกระบวนการปรับตัวอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงสีข้าว เพื่อ
ี
ี
ให้เกิดความสามารถในการแข่งขันภายใต้สภาพแวดล้อมท่เปล่ยนแปลงไป การเข้าใจสภาพแวดล้อม
ของอุตสาหกรรมโรงสีข้าวในปัจจุบัน และการถอดบทเรียนของโรงสีข้าวท่มีความสามารถในการแข่งขัน
ี
จึงเป็นสิ่งส�าคัญ ดังนั้นเอกสารเล่มนี้เป็นการน�าเสนอการสังเคราะห์ผลงานวิจัยที่มุ่งเน้น ดังนี้
1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจของอุตสาหกรรมโรงสีข้าว
ื
2) การวิเคราะห์โซ่คุณค่าเพ่อวิเคราะห์กิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนของอุตสาหกรรม
โรงสีข้าว
3) การถอดบทเรียนของโรงสีข้าวท่มีความสามารถในการแข่งขันภายใต้สภาพแวดล้อม
ี
ที่เปลี่ยนแปลงไป
1.2 กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ธุรกิจโรงสีข้าว
ในส่วนนี้จะน�าเสนอแนวคิดการวิเคราะห์โรงสีข้าว โดยจะใช้แนวคิดแรงผลักดันทั้ง 5 ประการ
ุ
ิ
ี
(Five Forces Model) ในการวเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธรกจของอตสาหกรรมโรงสข้าว แนวคด
ิ
ุ
ิ
ื
ั
ี
�
การวิเคราะห์โซ่คุณค่าเพ่อวิเคราะห์กิจกรรมระดับหน้าท่ต้งแต่การนาเข้าปัจจัยการผลิต การน�าสินค้า
�
ออกจาหน่าย การตลาด การบริการและกิจกรรมสนับสนุนอ่น ๆ ได้แก่ การจัดซ้อ การพัฒนาเทคโนโลย ี
ื
ื
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพ้นฐาน และแนวคิดการวิเคราะห์ความสามารถเชิงพลวัต
ื
(Dynamic Capabilities) ในการปรับตัวของธุรกิจโรงสีข้าว โดยการวิเคราะห์ความสามารถด้านต่าง ๆ
16 สถาบันคลังสมองของชาติ