Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                             ิ
                                                                                     ุ
                                                                             ั
                                                 ิ
                               ื
                                  ิ
                                           ิ
                                              ์
                                                                                                           94

               ด:วยเส:นทางรอบนอก  ความเกี่ยวข:องสEวนบุคคลจะเกิดขึ้นเมื่อเห็นวEาเรื่องนั้นมีผลกระทบตEอชีวิตของตนเอง ระดับของ
               ความเกี่ยวข:องขึ้นอยูEกับความมากน:อยและระยะเวลาของผลกระทบ (Petty and Cacioppo, 1986) เชEน ประเด็นการ
                                                               ี
               เลือกสาขาวิชาเรียนมีความเกี่ยวข:องกับนักศึกษามากกวEาคนท่เรียนจบแล:ว นักศึกษาจะใช:ความคิดพจารณาเหตุผลตEาง ๆ
                                                                                             ิ
               และต:องการข:อมูลมากกEอนตัดสินใจ แตEคนที่เรียนจบแล:วเห็นวEาเปUนหัวข:อที่ไมEสำคัญกับเขาจึงไมEมีแรงจูงใจที่จะใช :
               ความคิดและเวลากับการใครEครวญในเรื่องนี้มาก


                                        ู,
                       1.2 ความต,องการใฝòร


                          ความต:องการใฝèร:เปUนคุณลักษณะทางบุคลิกภาพที่แตกตEางกันตามบุคคล บางคนสนุกกับการคิดแก:ไขปiญหา
                                        ู
               เพลิดเพลินกับการเลEนเกมปริศนาทายคำ แตEบางคนไมEชอบคิด คนที่มีความต:องการใฝèรู:สูงมีแนวโน:มในการประมวลสาร

               โน:มน:าวใจโดยใช:เส:นทางหลักมากกวEาคนที่มีความต:องการใฝèรู:ตำ
                                                                ่
                          ปiจจัยอื่นทมีผลตEอแรงจูงใจในการคิดเกี่ยวกับข:อโต:แย:ง  เชEน ถ:าบุคคลต:องรับผิดชอบในการพจารณาตัดสน
                                   ี่
                                                                                                            ิ
                                                                                                   ิ
               สารที่ได:รับเองคนเดียว เขาจะตั้งใจคิดมากกวEาสถานการณQที่มีคนอื่นรEวมตัดสินใจด:วย เชEน การตัดสินใจของคณะกรรมการ
                           E
               ที่สมาชิกต:องรวมกันตัดสินใจ บุคคลอาจเห็นวาสมาชกอ่นรEวมกนตดสนใจและอาจรู:สึกวEาความคิดของตัวเองสำคัญน:อยลง
                                                        ิ
                                                                ั
                                                          ื
                                                                     ิ
                                                   E
                                                                  ั
               จึงใช:ความพยายามน:อยลงในการคิดด:วย นอกจากนี้ ความหลากหลายของแหลEงสารกระตุ:นให:คนใช:ความคิดมากกวEาสาร
                                                                                                        ู
                                                                                              E
                                                                                                        :
                                                                                                       :
               ที่มาจากแหลEงสารเดียว กลEาวคือ ประเด็นปiญหาที่มีการนำเสนอข:อมูลและความคิดเห็นจากหลายแหลงสารทำใหผรับสาร
               มีแรงจูงใจมากกวEาการนำเสนอข:อมูลจากแหลEงสารเดียว (Petty, et al., 2005)

                       2.  ความสามารถในการคิดพิจารณา
                          การใช:เส:นทางหลักในการประมวลสารโน:มน:าวใจนอกจากผู:รับสารต:องมแรงจูงใจแล:ว จะต:องม  ี
                                                                                         ี
               ความสามารถในการคิดเกี่ยวกบหัวข:อด:วย สิ่งทมีอิทธิพลตEอความสามารถในการคิดพิจารณา ได:แกE สิ่งรบกวนความสนใจ
                                       ั
                                                    ี่
               และความรู:เดิม


                          2.1 สิ่งรบกวนความสนใจ


                              สิ่งรบกวนความสนใจ หมายถึง สิ่งเร:าที่เข:ามาเบี่ยงเบนความสนใจของผู:รับสารจนทำให:ใช:ความคิดกบ
                                                                                                            ั
               สารได:น:อยลง เชEน เสียงคุยของคนโดยรอบขณะฟiงการบรรยายอาจทำให:ความสามารถในการคิดเกี่ยวกับเนื้อหาการ
                                                                                                         ี
                        :
               บรรยายไดน:อยลง อยEางไรก็ตาม ผู:สEงสารอาจตั้งใจใช:สิ่งรบกวนความสนใจให:เปUนประโยชนQตEอการโน:มน:าวใจในกรณที่ขอ
                                                                                                            :
                      ี
                                                                                                            ั
                    :
               โตแยงท่นำมาเสนอไมมนำหนก ผลการวิจัยพบวEาในสถานการณที่มีสิ่งรบกวนความสนใจ ประสิทธิผลของสารที่ขัดแย:งกบ
                 :
                                      ั
                                                                 Q
                                   ้
                                E
                                  ี
               ทัศนคติของผู:รับสารและใช:ข:อโต:แย:งที่ไมEมีน้ำหนักกลับเพิ่มมากขึ้น แตEสิ่งรบกวนความสนใจทำให:สารที่แสดงข:อโต:แย:งม ี
               น้ำหนักมีประสิทธิผลลดน:อยลง เพราะเปUนอุปสรรคขัดขวางความสามารถในการคิดพิจารณาข:อโต:แย:ง  (O’Keefe, 2002)
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105