Page 29 -
P. 29
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
7
ั้
้
้
ิ
การวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ได้แก่ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชนนำดานสนคา
่
เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลคาสูง เนื่องจากภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการแปรรูปผลผลิตทาง
้
่
่
การเกษตรเป็นแหลงรายไดและการจางงานที่สำคัญ แตกำลังเผชิญกับความทาทายหลายประการท่อาจ
ี
้
้
ุ่
้
้
่
ลดทอนความสามารถในการแข่งขัน อาทิ การแข่งขันดานราคาที่รุนแรงขึ้นในกลมสินคาที่มีมูลคาเพิ่มต่ำ
้
้
ี่
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มาตรฐานดานความปลอดภัยในระดับนานาชาตทเขมงวดขึ้น ต้นทนใน
ุ
ิ
่
การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตรและคาจางแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้น ขณะเดียวกัน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
้
โดยเฉพาะเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีอัตโนมัติ และเทคโนโลยีดิจิทัล จะเป็นเครื่องมือสำคัญที่ภาค
การเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรสามารถนำมาใชจัดการกับความเสยงและยังเป็นโอกาสใน
ี่
้
ู้
้
ู่
่
การเพิ่มมูลคาของผลผลิต ซึ่งจะนำไปสการยกระดับรายไดของเกษตรกรและผประกอบการแปรรูป
รวมทั้งการใชทรัพยากรธรรมชาติในการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจน หมุดหมายที่ 10 ไทยมี
้
เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ เนื่องจากสวนปาล์มมีความเกี่ยวข้องกับคาร์บอนเครดิต ซึ่ง
้
ส่งผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและทำลายความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นในอนาคตได อย่างไรก็ดี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีหลาย
้
ี่
้
่
ประการไดส่งผลให้การจัดการปัญหาทางสิ่งแวดลอมอย่างยั่งยืนสามารถทำไดด้วยต้นทุนทลดตำลงและยัง
้
้
่
เป็นโอกาสในการสร้างมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจไดในอีกทางหนึ่ง อาทิ เทคโนโลยีชีวภาพทสามารถนำมาใช ้
ี่
้
้
เพิ่มมูลคาวัสดุเหลือใชทางการเกษตรเพื่อลดความจำเป็นในการเผาพื้นที่ของเกษตรกร (สำนักงาน
่
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต, 2564)
ิ
3. โมเดลเศรษฐกิจสู่การพั นาที่ยั่งยืน (Bio - Circular - Green Economy, BCG Model)
โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (BCG Model) เป็นรูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการสร้าง
สมดุลระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจกับความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาตโดยนำองคความรู้มาตอ
์
่
ิ
ยอดฐานความเข้มแข็งภายในของประเทศไทย คือ ความหลากหลายทางชีวภาพและผลผลิตทาง
การเกษตรที่อุดมสมบูรณ์พร้อมกับปรับเปลี่ยนระบบการผลิตไปสู่การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เพื่อรักษา
ี
ความมั่นคงทางวัตถุดิบ สมดุลของสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชวภาพ โดย
การพัฒนาเศรษฐกิจแบบ BCG ประกอบไปด้วย 2 แนวคิดหลัก คือ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
ิ
และเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) รวมกันเป็นแนวคิดที่กว้างขึ้นและสอดรับกับแนวคด
เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) โดย BCG จะครอบคลุม 4 สาขา คือ 1. เกษตรและอาหาร
2. สุขภาพและการแพทย์ 3. พลังงาน วัสดุและเคมีชีวภาพ และ 4. การท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค ์
้
ซึ่งมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศเพื่อใชในการขับเคลื่อน BCG Model ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
ศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ได้แก่ 1. เพิ่มความมั่นคงทางอาหาร
3. เพิ่มความมั่นคงทางพลังงาน และ 5. ลดปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อม (กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, 2563; ประชาคมวิจัยด้านเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียนและ
เศรษฐกิจสีเขียว, 2561; สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล, 2563a)