Page 32 -
P. 32
ิ
ิ
ิ
์
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
10
ี่
้
1. การพัฒนาประตการคา ั งตะวันตก (Western Gateway) 2. การพัฒนาประตูสู่การท่องเทยวอ่าวไทย
ู
และอันดามัน (Royal Coast & Andaman Route) 3. การพัฒนาอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและ
การแปรรูปการเกษตรมูลค่าสูง (Bio - Based & Processed Agricultural Products) และ
4. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การส่งเสริมวัฒนธรรม และการพัฒนาเมืองน่าอยู่ (Green, Culture,
ู
Smart and Livable Cities) โดยการพัฒนาอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูปการเกษตรมูลคาสง
่
จะเน้นการสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการผลิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าทางการเกษตร
โดยเฉพาะปาล์มน้ำมัน ยางพารา อาหารทะเล และพืชเศรษฐกิจสำคัญอื่น ๆ สนับสนุนการผลิตด้าน
การเกษตรครบวงจร ด้วยการเพิ่มผลิตภาพการผลิต และการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของ
ผลผลิตให้ได้มาตรฐานสากล รวมถึง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่ง
การพัฒนาตามกรอบดังกล่าว จะเป็นฐานเศรษฐกิจใหม่ที่ต่อยอดการพัฒนาจากฐานทรัพยากรและ
กิจกรรมเศรษฐกิจทมีอยู่ในพื้นที่ เพื่อเพิ่มโอกาสในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยให้มีการบริหาร
ี่
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลเพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนของการพัฒนาในระยะ
ยาว (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต, 2562a; สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ิ
ทำเนียบรัฐบาล, 2563b)
และเมื่อพิจารณาการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) เชื่อมโยงกับโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาท ี่
ยั่งยืน (BCG Model) จะเห็นได้ว่ามี 2 สาขายุทธศาสตร์ของ BCG Model คือ เกษตรและอาหาร และพลังงาน
วัสดุและเคมีชีวภาพ ที่เกี่ยวข้องกับปาล์มน้ำมัน ยางพารา และสัตว์น้ำเศรษฐกิจ ดังนี้
อาหาร สาร การแพทย์ การท่องเที่ยว
เสริมสุข าพ มูลค่าสูง แม่นย า อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยี การตรวจ เทคโนโลยี
การอนุรักษ์
ชีว าพ Bioprocess พันธุกรรม ตลาดท่องเที่ยวที่
ผลิต ัณ ์
เอทานอล
BCG Model เกษตรแม่นย า พันธุ์ ไบโอดีเ ล การศ กษาสารออก ทธิ Big Data/Digital Platform
ผลผลิตเพิ่ม
เชื่อมโยงด้วยดิจิทัล
สมุนไพร
เทคโนโลยี
ในสมุนไพร
เคมีและชีว าพ
เกษตรและอาหาร พลังงาน วัสดุและเคมีชีว าพ สุข าพและการแพทย ์ การท่องเที่ยว
แนวทาพั นา • จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านเกษตรและ • จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านพลังงาน • จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านสุขภาพและ • พัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจเชิง
การแพทย์
สร้างสรรค์
อาหาร
• ต่อยอดพลังงานเชื้อเพลิงจากผลผลิตทาง
• สร้างโรงงานต้นแบบ
การเกษตร
• พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร
• พัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง
• Medical Hub ภาคใต้
ทรัพยากรในพื นที่ • ปาล์มน ามัน • ปาล์มน ามัน BCG Digital Platform • แหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยงทั้งสอง ั งทะเล
• คนไข้โรค … จ านวนมาก
• ยางพารา
• เมืองสมุนไพร (Herbal City)
• สัตว์น าเศรษฐกิจ
• พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญอื่น ๆ
หมุนเวียนน ากลับมาใช้ใหม่ (Reuse, Refurbish, Sharing, Recycle, Upcycle)
ใช้ผลิต ัณ ์เต มวงจรชีวิต (Maximal Life Cycle Usage)
การท าให้ของเสียเป นศูนย์ (Zero-Waste)
รูปที่ 2-2 การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) เชื่อมโยงกับ BCG Model
1. เกษตรและอาหาร สามารถเชื่อมโยงกับทรัพยากรในพื้นที่ ได้แก่ ปาล์มน ำมัน ยางพารา สัตว์น้ำ
เศรษฐกิจ และพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอื่น ๆ เพื่อนำมาพัฒนาจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านเกษตรและ
อาหาร สร้างโรงงานต้นแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง