Page 33 -
P. 33
ิ
์
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
11
2. พลังงาน วัสดุและเคมีชีว าพ สามารถเชื่อมโยงกับทรัพยากรในพื้นที่ ได้แก่ ปาล์มน ำมัน เพื่อนำมา
พัฒนาจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านพลังงาน และต่อยอดพลังงานเชื้อเพลิงจากผลผลิตทางการเกษตร
ตารางที่ 2-1 ยุทธศาสตร์การพัฒนา SEC ด้านอุตสาหกรรมฐานชีวภาพกับแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การพั นาอุตสาหกรรมฐานชีว าพและการแปรรูปการเกษตรมูลค่าสูง
1. แผนพั นา าคใต้ พ.ศ. 2560 - ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ำมันแห่ง
2565 ฉบับทบทวน ใหม่ของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรหลักของภาคและสร้างความ
เข้มแข็งสถาบันเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้อย่างยั่งยืน
2. แผนพั นากลุ่มจังหวัด าคใต ้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการผลิต แปรรูป และการบริหารจัดการพืชเศรษฐกิจ
ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2561 - หลัก (ปาล์มน้ำมัน ยางพารา ไม้ผล)
2564) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มผลผลิตจากการประมงชาย ั ง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
เศรษฐกิจ และการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจที่มีความโดดเด่นในพื้นที่
3. แผนพั นาจังหวัดชุมพร พ.ศ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาการเกษตรสู่การเกษตรคุณภาพ และเกษตรทันสมัย
2561 - 2565
4. แผนพั นาจังหวัดระนอง ยุทธศาสตร์ที่ 2 เศรษฐกิจชุมชนที่มั่นคง เข้มแข็ง ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
ั
5. แผนพั นาจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มศักยภาพการแข่งขนภาคเกษตร และอุตสาหกรรม
สุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2561 - 2564 เกษตร
6. แผนพั นาจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารจัดการเกษตรและอุตสาหกรรมสู่มาตรฐานครบวงจร
นครศรีธรรมราช (พ.ศ. 2561 - และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2565)
ทั้งนี้ จากการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) ทั้งหมด
ไม่ว่าจะเป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) (ร่าง) แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (BCG
Model) ที่เน้นด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ควบคู่กับการพัฒนาพื้นที่ รวมถึง
ด้านการเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง ทำให้เกิดความเชื่อมโยงไปสู่การจัดให้มีการพัฒนาศูนย์ความ
เชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาและวิเคราะห์แผน
ุ่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ อันได้แก่ แผนพัฒนาภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2565 ฉบับทบทวน แผนพัฒนากลม
้
จังหวัดภาคใต ั งอ่าวไทย (พ.ศ. 2561 - 2564) หรือแม้กระทั่งแผนพัฒนาจังหวัดทั้ง 4 จังหวัด และการพัฒนา
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้อย่างยั่งยืน เองก็ตาม ทำให้ทราบว่าแผนการพัฒนาในพื้นที่จะเน้นทางด้าน
การพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในพื้นที่ที่มีศักยภาพการเพิ่มผลผลิต การเข้าสู่มาตรฐาน และเพิ่มขีด
ั
ความสามารถเป็นหลัก โดยเฉพาะในพืชเศรษฐกิจหลก ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา ไม้ผล และสตว์เศรษฐกิจ
ั
ต่าง ๆ