Page 31 -
P. 31

ิ
                                                                              ิ
                            ื
                                             ์
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                          ิ
                               ิ
                                                               9
                                                                                                        ี
                             การเกษตรคุณภาพและเกษตรทันสมัย ด้วยการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีชวภาพ
                             เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ในการผลิต แปรรูป และการตลาด ของสินคา
                                                                                                            ้
                             เกษตร (สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ จังหวัดชุมพร,

                             2562)
                            แผนพั นาจังหวัดระนอง ระนองมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมที่รายได้หลักมาจากภาคการเกษตร

                             โดยสาขาการผลิตที่สำคัญและสร้างรายได้ให้กับจังหวัด ได้แก่ สาขาการประมง รองลงมาเป็น

                             สาขาเกษตรกรรม ซึ่งจะเห็นได้ว่าเศรษฐกิจจังหวัดยังคงพึ่งพิงภาคการเกษตรเป็นหลัก โดยมีพืช
                             เศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ยางพารา กาแฟ ปาล์มน้ำมัน และไม้ผล โดยยุทธศาสตร์การพัฒนา

                             จังหวัดที่เกี่ยวข้อง คือ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เศรษฐกิจชุมชนที่มั่นคง เข้มแข็ง ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
                             พอเพียง ซึ่งจะเน้นการเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนาสินค้าด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม

                             ต่อเนื่องภาคเกษตร (สำนักงานจังหวัดระนอง, ม.ป.ป.)

                            แผนพั นาจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2561 - 2564 มีเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง คือ เพื่อเพิ่ม
                             ศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร และมียุทธศาสตร์ที่สำคัญ

                             ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มศักยภาพการแข่งขันภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร โดย

                                                                                                           ิ
                             การพัฒนาภาคการผลิตและอุตสาหกรรมยางพาราและปาล์มน้ำมันแบบครบวงจร (การผลต
                             การแปรรูป การตลาด) เพื่อเพิ่มมูลค่าและศักยภาพในการแข่งขัน ตลอดจน ส่งเสริมและพัฒนา

                             ยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร (พืช ประมง ปศุสัตว์) (คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบ
                             บูรณาการจังหวัดสุราษฎร์ธานี สำนักงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2559)

                                                                                          ี
                            แผนพั นาจังหวัดนครศรีธรรมราช (พ.ศ. 2561 - 2565) มีเป้าหมายท่เกี่ยวข้อง คือ เพื่อเพิ่ม
                             รายได้จากการเกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ควบคู่กับการยกระดับมาตรฐานคุณภาพ
                             และมียุทธศาสตร์ที่สำคัญ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารจัดการเกษตรและอุตสาหกรรมส ู่

                             มาตรฐานครบวงจรและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยการพัฒนาสินค้าเกษตร เทคโนโลยีและ
                             นวัตกรรม รวมถึง พัฒนากระบวนการผลิต การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา การแปรรูป และพัฒนา

                             ผลผลิตต่อยอดเป็นเกษตรอุตสาหกรรมก้าวหน้าแบบครบวงจรอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้

                             ยังเน้นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือและพัฒนาระบบโลจิสตเพื่อกระจายสินค้าทางการเกษตร
                                                                                 ิ
                             และส่งเสริมสถานประกอบการอุตสาหกรรมของจังหวัดให้เป็นอุตสาหกรรมนวัตกรรมสีเขียว

                             (สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช,

                             2562)
                      7.  แผนการพั นาพื นที่ระเบียงเศรษฐกิจ าคใต้อย่างยั่งยืน

                                                                                                  ้
                                                       ี่
                                         ั
                         จากการเล็งเห็นถึงศกยภาพของพื้นท จึงได้มีแนวคิดการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต (Southern
                      Economic Corridor, SEC) ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ
                      จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อเป็นพื้นที่การพัฒนาเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

                      (EEC) และเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (SEZ) โดยให้ความสำคัญกับกรอบการพัฒนา 4 เรื่อง ได้แก่
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36