Page 27 -
P. 27

ิ
                               ิ
                            ื
                                                                              ิ
                                                                  ิ
                                             ์
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                               5
                                                            บทที่ 2

                                               การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

                  2.   การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
                      ในการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องสำหรับการจัดทำโครงการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อ

                  การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) นั้น จะเป็นการศึกษาถึง
                                                   ี่
                  นโยบายและแนวคิดในการพัฒนาพื้นท สถานภาพและความพร้อมของพื้นท และกรอบงานวิจัยเรื่องปาลม
                                                                                                           ์
                                                                                   ี่
                                                                                     ี่
                  น้ำมันในต่างประเทศ เนื่องจากการศึกษาสถานภาพ และความพร้อมของพื้นทเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ถึง
                                                                                 ่
                  ศักยภาพด้านการผลิตทั้งในภาคเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมของพื้นที่ แตอย่างไรก็ตาม เนื่องจากในพืนทมี
                                                                                                           ี่
                                                                                                         ้
                  ผู้ประกอบการจำนวนมาก ดังนั้น จึงได้มีการพิจารณาถึงโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพื่อนำมาเป็นข้อมูลใน
                  การพิจารณาคัดเลือกอุตสาหกรรมเป้าหมายของพื้นที่สำหรับจัดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศนย์
                                                                                                          ู
                  ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ในประเด็นทจะมีผลกระทบต่อพื้นทใน
                                                                                                           ี่
                                                                                      ี่
                                                                                                       ้
                                                                                                         ่
                  ระดับสูงตลอดห่วงโซ่มูลค่าได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลสอดคล้องกับบริบทของผู้เล่นในพืนทีจริง
                                                                          ้
                  ซึ่งในการรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น พบว่า พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตมีศักยภาพสูงในด้านการเกษตรโดยเฉพาะ
                  พืชและสัตว์เศรษฐกิจ อาทิ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และสัตว์น้ำเศรษฐกิจ รวมถึงยุทธศาสตร์หรือนโยบายต่าง ๆ

                  ของพื้นที่ยังเน้นที่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ดังนั้นในโครงการนี้ผู้วิจัยจึงจะมุ่งเน้นไปทการศึกษายุทธศาสตร์
                                                                                           ี่
                  การวิจัยปาล์มน้ำมันก่อน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

                  2.1 นโยบายและแนวคิดในการพั นาพื นที่

                      ในการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
                  ภาคใตเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจัยให้มุ่งสู่ฐานการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ในแต่ละช่วง
                        ้
                                                                                         ้
                                                                                                           ั
                                        ี่
                  ระยะเวลา และเพื่อให้พื้นทระเบียงเศรษฐกิจภาคใตเป็นแหล่งถ่ายทอดและประยุกต์ใชเทคโนโลยีจากงานวิจย
                                                             ้
                  และนวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ สร้างความเข้มแข็ง และเกิดประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (รายได้) และ
                  คุณภาพชีวิตประชาชน (อาชีพ) ในลักษณะกลไกประชารัฐให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับทศ
                                                                                                           ิ
                  ทางการพัฒนาประเทศไทยในปัจจบัน โดยเฉพาะในด้านอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูปการเกษตร
                                               ุ
                  มูลค่าสูง (ปาล์มน้ำมัน) มีความจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาทบทวนนโยบายหรือแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ
                  การพัฒนาเชิงพื้นที่จากหน่วยงานระดับประเทศและหน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานคณะกรรมการ

                                                    ิ
                  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต และสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบ
                                                                                                            ิ
                  บูรณาการของจังหวัดต่าง ๆ เพื่อนำมาประกอบการจัดทำข้อมูลแผนการพัฒนาศูนย์ความเชยวชาญการวิจยเชง
                                                                                             ี่
                                                                                                        ั
                                              ้
                  พื้นทพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต ต่อไป โดยรายละเอียดนโยบายต่าง ๆ จะแสดงในภาคผนวก ก.
                      ี่
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32