Page 26 -
P. 26
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
4
Priority) กลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันเพื่อพิจารณาถึงความจำเป็นในการทำงานวิจัย และปัญหาเร่งด่วนที่ต้องไดรับ
้
การแก้ไขร่วมด้วย รวมถึงการลดงานวิจัยที่มีความสำคัญรองหรือไม่มีความจำเป็นเพื่อให้สามารถวางแผนการใช ้
งบประมาณการวิจัยกลุ่มงานปาล์มน้ำมันให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
โครงสร้าง Taxonomy ของกลุ่ม วิเคราะห์ด้านการ ความต้องการ/
งานวิจัยเรื่องปาล์มน ามัน จัดสรรงานวิจัย ปัญหาอุปสรรค ก าหนดทิศทางวิจัย
ความต้องการด้านการพั นากลุ่มเรื่อง
ปาล์มน ามัน
ปัญหาอุปสรรคเรื่อง
ปาล์มน ามัน
1 จัดโครงสร้าง Taxonomy ด้านกลุ่ม 2 วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณการ 3 รวมรวมความต้องการและปัญหา 4 วิเคราะห์ข้อมูลผลงานวิจัยกลุ่ม
งานวิจัยเรื่องปาล์มน้ ามันออกเป็น วิจัยในอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อศึกษา อุปสรรคด้านการพัฒนาปาล์มน้ ามัน เรื่องปาล์มน้ ามัน ครอบคลุมถึง
หมวดหมู่ให้สอดคล้องกับหัวข้อการ ถึงปริมาณงานวิจัยและงบประมาณ ในปัจจุบันและอนาคต นโยบายของรัฐ
วิจัย และรวบรวมผลงานวิจัยในเรื่อง งานวิจัยที่มีการจัดสรรในแต่ละ ปัญหาของการผลิตตลอดห่วงโซ่การ จัดท าข้อเสนอแนะแนวทางเลือก
ปาล์มน้ ามัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 - หัวข้อ ผลิต และความต้องการของผู้บริโภค งานวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ ามันที่มี
2562 ความจ าเป็นเพื่อรองรับนโยบาย
รูปที่ 1-1 กรอบแนวความคดในการดำเนินโครงการ
ิ
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ิ
1. สามารถกำหนดแนวทางและประเด็นในการวิจัยและการพัฒนาผลตภัณฑ์ปาล์มน้ำมัน ทั้งต้นน้ำ กลาง
น้ำ และปลายน้ำทเหมาะสม เพื่อนำมาใช้ในการสนับสนุนการจดสรรงบประมาณสำหรับการวิจยและ
ี่
ั
ั
พัฒนาปาล์มน้ำมันของประเทศ
2. สามารถจัดสรรทุนงบประมาณสนับสนุนสำหรับงานวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันได้อย่างเหมาะสมกับ
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย
3. สามารถสนับสนุนการพัฒนาพื้นท SEC ด้านอุตสาหกรรมฐานชีวภาพฯ ตามทรัพยากรในพื้นทไดอย่าง
ี่
้
ี่
เหมาะสม ตรงตามทิศทางการพัฒนาด้านการวิจัยและการเกษตรของประเทศ
ี่
หน่วยงานสนับสนุนทุนสามารถกำหนดโจทย์การวิจัยทสอดคล้องกับความต้องการของภาค
เกษตรกรและภาคเอกชน (ระยะสั้น)
นักวิจัยสามารถทำงานวิจัยทลดจำนวนงานวิจัยทซ้ำซ้อนลง และจะสามารถเพิ่มจำนวนงานวิจยท ี่
ี่
ั
ี่
้
สร้างผลกระทบต่อตลาดและมีตลาดรองรับได (ระยะสั้น)
โจทย์งานวิจัยของภาครัฐใน SECr มีความสอดคล้องกันในภาพรวม (ระยะสั้น)
หน่วยงานสนับสนุนทุนสามารถลดปริมาณงานวิจัยที่ไม่ตรงตามโจทย์ความต้องการของตลาดลง
ได้ (ระยะกลางและยาว)
นักวิจัยสามารถทำงานวิจัยที่เกิดผลกระทบและมีตลาดรองรับในระยะยาว (ระยะกลางและยาว)
สร้างทิศทางการพัฒนาการวิจัยของ SECr (ระยะกลางและยาว)