Page 28 -
P. 28
ิ
์
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
6
1 แผนพั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และ (ร่าง) ฉบับที่ 1
ในยุทธศาสตร์ที่ 8 และยุทธศาสตร์ที่ 9 (ฉบับที่ 12) และในหมุดหมายที่ 1 และหมุดหมายที่ 10 (ฉบับที่ 13)
2 โมเดลเศรษฐกิจสู่การพั นาที่ยั่งยืน (BCG Model)
ซึ่งเป็นกลไกที่มีศักยภาพสูงในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในประเทศอย่างทั่วถึง กระจายโอกาสและลดความเหลื่อมล้ าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 แผนพั นา าคใต้ พ.ศ. 2560 - 2565 ฉบับทบทวน
ในยุทธศาสตร์ที่ 2, 3 และ 6 เกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ ามัน สินค้าเกษตร สถาบันเกษตรกร และพื้นที่
4
แผนพั นากลุ่มจังหวัดและแผนพั นาจังหวัด
ประกอบด้วย แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ ั งอ่าวไทย และแผนพัฒนาจังหวัดในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
5
แผนการพั นาพื นที่ระเบียงเศรษฐกิจ าคใต้อย่างยั่งยืน
เป็นแผนการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SEC) ซึ่งประกอบด้วยจังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช
รูปที่ 2-1 แผนงานและยุทธศาสตร์ตาง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
่
1. แผนพั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ถือเป็นเครื่องมือหรือกลไกสำคญสำหรับถ่ายทอด
ั
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่การปฏิบัติและขับเคลื่อนไปสู่การบรรลุเป้าหมายในระยะยาว โดยประเดน
็
ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ที่ควรนำมาพิจารณาประกอบการจดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจย
ั
ั
ี
้
เพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบยงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ไดแก่ ยุทธศาสตร์ท ี่
ั
8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งและยกระดบ
ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นก้าวหน้าให้สนับสนุนการสร้างมูลค่าของสาขาการผลิต
และบริการเป้าหมาย สร้างโอกาสการเข้าถึงและนำเทคโนโลยีไปใช้ให้กับเกษตรกรรายย่อย วิสาหกิจ
ชุมชน และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พัฒนานวัตกรรมที่มุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล้ำและ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและเพิ่มคุณภาพสิ่งแวดล้อม และบูรณาการระบบบริหารจัดการ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้สามารถดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน และ ยุทธศาสตร์
ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ที่ต้องการกระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกิจไปส ู่
ั
ภูมิภาคอย่างทั่วถึง พัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ฐานเศรษฐกิจหลกให้ขยายตัวอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอม และ
้
ี่
พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาในพื้นทอย่าง
ยั่งยืน ซึ่งทั้งสองยุทธศาสตร์นี้จะช่วยยกระดับความสามารถในการพัฒนาเชิงพื้นที่ให้ดีขึ้นได (สำนักงาน
้
ิ
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต, 2559)
2. (ร่าง) แผนพั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)
์
ิ
การวางกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีจุดประสงคเพื่อพลก
โฉมประเทศไทย (Thailand’s Transformation) ภายใตแนวคิด “Resilience” ซึ่งมีจุดมุ่งหมายใน
้
้
การลดความเปราะบาง สร้างความพร้อมในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง สามารถปรับตัวใหอยู่รอดไดใน
้
ุ้
้
ิ
สภาวะวิกฤต โดยสร้างภูมิคมกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อให้ประเทศสามารถเตบโตไดอย่างยั่งยืน
โดยมีหมุดหมาย (Milestones) ที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับการวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญ