Page 23 -
P. 23
ิ
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
1
บทที่ 1
บทนำ
1. บทนำ
1.1 ความสำคัญและที่มาของปัญหา
้
จากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง ไดมี
มติเห็นชอบตามที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอให้ศึกษา
การพัฒนา SEC (ชุมพร - ระนอง - สุราษฎร์ธานี - นครศรีธรรมราช) โดย สศช. ได้จัดทำกรอบการพัฒนาพื้นท ี่
้
ภาคใต้เป็นระเบียงเศรษฐกิจภาคใต หรือ SEC (Southern Economic Corridor) ขึ้น ซึ่งหนึ่งในกรอบ
แนวทางการพัฒนาพื้นที่เป็นระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ คือ การพัฒนาอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูป
เกษตรมูลค่าสูง (Bio - Based & Processed Agricultural Products) จากการใช้ทรัพยากรการผลิตทั้งใน
พื้นที่และประเทศเพื่อนบ้านเพื่อพัฒนาเป็นศูนย์กลางการแปรรูปเกษตรในภาคใต้ รวมทั้งการพัฒนาต่อยอดเพื่อ
ิ
สร้างมูลค่าเพิ่มด้วยเทคโนโลยีจากการวิจัยและนวัตกรรม อาทิ การพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดจากการผลต
น้ำมันปาล์มดิบในพื้นที่ให้เป็นสินค้าที่มีมูลค่าสูง (Phase Change Material) ยกระดับเกษตรกรรายย่อยให้มี
ความสามารถในการผลิตและแปรรูป และยกระดับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ให้เป็นศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยีนวัตกรรมเกี่ยวกับปาล์มน้ำมัน
ุ
โดยในกลุ่มพืชน้ำมันที่มีการเพาะปลูกทั่วโลก ปาล์มน้ำมันถือเป็นพืชน้ำมันที่มีศักยภาพการผลิตน้ำมันสงสด
ู
เมื่อเทียบกับพืชชนิดอื่น สามารถผลิตน้ำมันได้สูงถึงประมาณ 520 กิโลกรัมต่อไร่ (สถาบันวิจัยพืชกรรมปาล์ม
น้ำมัน คณะทรัพยากรธรรมชาติ และสำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2553) โดยอัตรา
่
ิ
การผลิตน้ำมันต่อไร่ของปาลมน้ำมันสูงกว่าอัตราการผลตน้ำมันจากพืชน้ำมันชนิดอื่นถึง 6 - 10 เทา (ธนาคาร
์
กรุงศรีอยุธยา, 2563) ทำให้ปาล์มน้ำมันเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างมาก โดยภูมิภาคอาเซียน
ิ
ถือเป็นแหล่งปลูกปาลมน้ำมันหลักของโลก ซึ่งมีประเทศผู้ผลตทสำคัญ ได้แก่ อินโดนีเซียและมาเลเซีย ในขณะ
ี่
์
ที่ ประเทศไทยมีผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบมากเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยมีผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 2.89 ล้านตันต่อ
ิ
ปี หรือคิดเป็นร้อยละ 3.92 ของผลผลิตน้ำมันปาล์มดบโลก (ผลผลิตเฉลี่ยในช่วง พ.ศ. 2560 - 2564) (United
States Department of Agriculture (USDA), 2021) พื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันและโรงงานสกัดน้ำมัน
ปาล์มดิบของไทยส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ 86.40 ของพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั่วประเทศ โดยเฉพาะ
ในจังหวัดกระบี่ สุราษฎร์ธานี และชุมพร (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2563) ทั้งนี้ ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เป็น
แหล่งเพาะปลูกปาล์มน้ำมันที่สำคัญของประเทศและมีศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปสนคาเกษตร
ิ
้
เพื่อการส่งออกและอุตสาหกรรมชีวภาพ โดยเฉพาะการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์จากปาล์มน้ำมัน
ู
่
ั
ประกอบกับเทคโนโลยีการผลิตที่ก้าวหน้ามากขึ้น จึงมีโอกาสในการยกระดบเป็นการแปรรูปขั้นสงตอยอดจาก
ู่
ิ
ิ
อุตสาหกรรมผลตน้ำมันปาล์มไปสผลตภัณฑ์ใหม่ อาทิ อุตสาหกรรมโอลิโอเคมี ซึ่งมีความต้องการในตลาดโลก
สูง
อย่างไรก็ตาม ประเด็นของการวิจัยเกี่ยวกับปาล์มน้ำมันนั้นมีอย่างหลากหลาย ตั้งแต่ในด้านของการพัฒนา
พันธุ์ วิธีการปลูก การพัฒนาเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และเศรษฐกิจ แต่การกำหนดประเด็นของงานวิจยจะ
ั