Page 36 -
P. 36

์
                                                                   ิ
                                                                                ิ
                              ื
                                 ิ
                                           ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                           2)  การสัมภาษณเชิงลึกผูเชี่ยวชาญและตัวแทนเกษตรกรที่มีความเชี่ยวชาญ นอกจากการสำรวจ

                                                                                          ื่
                    ขอมูลจากเอกสารและงานวิจัยแลว ผูวิจัยยังใชการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ (1) นักวิชาการ เพอใหเขาใจภาพรวม
                    ของอุตสาหกรรมการผลิตทั้งสอง โดยขอมูลในสวนนี้จะมีความสำคัญอยางมากในการออกแบบการศึกษา การ

                    แบงกลุมเกษตรกร และการลงพื้นที่รวบรวมขอมูล และ (2) ตัวแทนเกษตรกรในกลุมตางๆ ทมีความเชี่ยวชาญ
                                                                                           ี่
                                                       
                              
                                                       ึ้
                    เพื่อใหเขาใจขอมูลของผลผลิตอยางละเอียดขน ทำใหสามารถกำหนดขอบเขตการเก็บขอมูลและคำถามที่ใชใน
                    การสอบถามเกษตรกรไดดีมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ผลจากการสัมภาษณยังสามารถใชเปนขอมูลฐานในการ

                    เปรียบเทียบมุมมองของเกษตรกรทไดจากแบบสอบถามดวย
                                               ี่
                           3)  การเก็บขอมูลจากเกษตรกรผานแบบสอบถาม ผูวิจัยจะทำการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใช

                    แบบสอบถามกับเกษตรกรแบบสุม โดยกำหนดกลุมเบื้องตน (Stratified sampling) จากเกษตรกรจำนวน

                    ประมาณ 200 ครัวเรือน โดยขอมูลที่จะเก็บนั้นมีรายละเอียดดังตารางที่ 3.1 และ รูปที่ 3.1

                    ตารางที่ 3.1 ประเด็นการศึกษา
                         ประเด็น              ขอมูลที่เก็บ                      การวิเคราะห
                     มุมมองความเสี่ยง  -  ความเห็นของเกษตรกรตอความนาจะ - ใช Risk Matrix ในการวิเคราะหขอมูล
                     ของเกษตรกร     เปนที่คาดวาจะเกิด (Probability)    - วิเคราะหปจจัยตางๆ วามีผลตอมุมมองความเสี่ยง

                     (Risk)         - ผลกระทบ (Impact) ตอเหตุการณตางๆ   หรือไมอยางไร (Statistical test และ Regression)
                     เหตุการณไมปกติที -  เก็บขอมูลเหตุการณไมปกติที่เผชิญใน 5  - Mapping กับมุมมองความเสี่ยงของเกษตรกร
                                  ่
                     เผชิญจริง      ปที่ผานมา                   - วิเคราะหปจจัยตางๆ วามีผลตอผลกระทบหรือไม
                     (Shocks)       -  ผลกระทบที่เกิดขึ้น (โดยเฉพาะ อยางไร (Statistical test และ Regression)
                                    เหตุการณโควิด-19)

                     ลักษณะพื้นฐาน  -  เก็บขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจและ - ใชสถิติพรรณนา (Descriptive Statistic) วิเคราะห
                     ของเกษตรกร     สังคมโดยทั่วไปของเกษตรกร      ขอมูลของเกษตรกร
                     การปรับตัว     -  การปรับตัวหลังจากเกิดเหตุการณ  - วิเคราะหปจจัยตางๆ วามีผลตอการปรับตัวหรือไม
                     (Adaptation)   Covid (การรับรู / พฤติกรรม / ขอจำกัด /  อยางไร (Statistical test และ Regression)
                                    อุปสรรค)                      - อาจจะเลือกการปรับตัวที่นาสนใจเพื่อศึกษาในเชิงลึก
                                                                  เชน การเขาสูตลาดออนไลน หรือการแปรรูปผลผลิต โดย
                                                                  การปรับตัวนั้นครอบคลุมทั้งการปรับตัวเฉพาะในชวงวิกฤติ

                                                                  และการปรับตัวในระยะยาวเขาสูพฤติกรรมใหมภายใต
                                                                  ความปกติใหม (New normal) โดยการใชเทคโนโลยีตางๆ
                     การฟนตัว     -  คาดการณการฟนตัวจากเหตุการณ  - วิเคราะหการปรับตัวของครัวเรือน (Descriptive
                     (Recovery)     Covid                         Statistic)
                                                                  - วิเคราะหปจจัยตางๆ ทั้งลักษณะพื้นฐาน การ

                                                                  เตรียมพรอมรับมือ และ การปรับตัว วามีผลตอการฟนตัว
                                                                  หรือไมอยางไร (Statistical test และ Regression)





                                                             3-3
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41