Page 40 -
P. 40

ื
                                                                                ิ
                                                                   ิ
                                 ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                           ิ
                                               ์
                                                           บทที่ 4


                             สถานการณการผลิต การคา และปญหาของเกษตรกรผูปลูกมะมวง




                                                                                        ั
                          มะมวง เปนผลไมเศรษฐกิจของประเทศไทย ในปจจุบันมีการสงออกมะมวงเปนอนดับ 3 ของโลก รอง
                    จากฟลิปปนส และ เม็กซิโก ตามลำดับ สำหรับสายพันธุมะมวงที่ปลูกในประเทศไทยมีหลากหลายสายพันธ ุ

                    มาก โดยสายพันธุที่แพรหลายมากที่สุดเปนพันธุเขียวเสวย แรด น้ำดอกไม อกรอง ฟาลั่น โชคอนันต เปนตน

                    อยางไรก็ดีพันธุน้ำดอกไมเปนพันธุที่ไดรับความนิยมในตลาดตางประเทศและมีสัดสวนการปลูกสูงขึ้นมาก
                    ในชวงที่ผานมา  (สำนักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดสุโขทัย, 2561)


                          มะมวงจัดเปนสินคาเกษตรที่มีศักยภาพในตลาดโลกและในอาเซียน เนื่องจากมีปริมาณและมูลคาการ

                                                                                         
                    สงออกเพมขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งยงเปนที่ตองการของตลาดภายนอก แตมีขอจำกดคือเปนสินคาที่มีอายุสั้น เนาเสีย
                           ิ่
                                                                                                     
                                                                                    
                                            ั
                                                                               ั
                    และบอบช้ำงาย อยางไรก็ตาม มีความจำเปนตองพัฒนาใหผลผลิตมีคุณภาพที่ดีและมีปริมาณสม่ำเสมอ สามารถ
                    เปนสินคาที่สามารถขายไดราคาสูงโดยเฉพาะการสงออกไปตางประเทศ (ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน และคณะ, 2557)
                          เนื้อหาในบทที่ 4 แสดงสถานการณปจจุบันของการผลิตและการคาของมะมวง รวมทั้งปญหาที่

                    เกษตรกรผูปลูกมะมวงเผชิญ โดยเปนการรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลทุติยภูมิ รวมทั้งงานวิจัยในอดีตที่

                    เกี่ยวของ ทั้งนี้ เนื้อหาของบทที่ 4 สามารถแบงออกไดเปน 5 สวน ไดแก (1) ภาพรวมการผลิตมะมวงใน
                    ประเทศ (2) สถานการณราคามะมวง (3) การคามะมวง โดยประกอบดวยทั้งความตองการบริโภคในประเทศ

                    และการสงออก (4) โครงสรางตลาดการคามะมวงในปจจุบัน และ (5) ปญหาที่เกษตรกรผูปลูกมะมวงเผชิญ


                    4.1 การผลิตมะมวง

                          สถานการณการเพาะปลูกมะมวงในประเทศตลอดระยะเวลาหลายปที่ผานมา พบวา เนื้อที่ใหผล

                                                                                               
                    ผลผลิต และผลผลิตตอไร มีแนวโนมเพมสูงขึ้น (ตารางที่ 4.1 และ รูปที่ 4.1 ถึง รูปที่ 4.3) โดยพบวา เกษตรกร
                                                  ิ่
                    ปลูกมะมวงเพิ่มขึ้นแทนพื้นที่วางเปลา พื้นที่นาดอน ประกอบกับมีการสงเสริมใหขยายพื้นที่ปลูกจากภาครัฐ

                    โดยการรวมกลุมทั้งในรูปแบบจัดตั้งเปนสหกรณ หรือวิสาหกิจชุมชน สงเสริมใหมีการผลิต และการบริโภค

                    มะมวงที่มีคุณภาพและปลอดภัย ใหไดคุณภาพมาตรฐานสงออก ซึ่งนิยมบริโภคทั้งในรูปผลสด และผลิตภัณฑ
                    แปรรูป แหลงผลิตมะมวง 5 อันดับแรกของประเทศไทย ไดแก จังหวัดพษณุโลก เชียงใหม ประจวบคีรีขันธ
                                                                             ิ
                                        

                    สุพรรณบุรี และเพชรบูรณ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2562)








                                                             4-1
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45