Page 35 -
P. 35

ิ
                              ื
                                                                                ิ
                                           ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                   ิ
                                               ์
                           การฟนตัว (Recovery) คือ ความสามารถในการฟนตัวของเกษตรกรหลังเผชิญกับเหตุการณไมปกติที่
                                                                                                  
                                                                                 
                                                                     ื
                    เกิดขึ้น ซึ่งอาจมีบางครัวเรือนที่สามารถฟนตัวไดและบางครวเรอนไมสามารถฟนตัวได โดยปจจัยที่กำหนดการ
                                                                  ั
                                                                                                        ั
                    ฟนตัวของเกษตรกร คือ วิธีการในการบรรเทาความเสี่ยง ลักษณะของตัวเกษตรกรเอง และ วิธีการในการปรับตว
                                                                                                       ั
                           สุดทายจะไดขอเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือ นโยบายภาครัฐ (Policy) ที่จะสรางความเขมแข็งใหกบ
                                                                                       
                    เกษตรกรใน 4 ลักษณะ คือ 1) วิธีการที่เกษตรกรสามารถรับมือกับความเสี่ยงมากขึ้น 2) วิธีการที่สามารถ
                                                                               ั
                                                                                 ั
                    เสริมสรางความเขมแข็งใหกับเกษตรกรเอง 3) วิธีการที่เกษตรกรสามารถปรบตวไดดีขึ้น 4) วิธีการที่เกษตรกร
                                        
                    สามารถฟนตัวไดดีขึ้น







                                                       Ex-ante





















                                            รูปที่ 3.1 กรอบแนวคิดตั้งตนในการวิเคราะห  


                    3.2 วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล


                           สำหรับการศึกษานี้ ผูวิจัยจะใชการเก็บขอมูลจากหลายลักษณะ ทั้งขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ
                    ประกอบดวย


                           1)  การสำรวจขอมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่ผานมา โดยเปนการรวบรวมขอมูลทั้งเชิงสถิติและการ

                    วิจัย เพื่อแสดงภาพรวมสถานการณปจจุบนของการผลิต การคา โครงสรางการตลาดของพช (มะมวงและทุเรียน)
                                                                                        ื
                                                    ั
                    และปญหาตางๆ ที่สำคัญที่พบในพืชทั้งสอง รวมทั้งการศึกษาประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับความเสี่ยงและการ
                                                                                                      
                    ปรับตัวของเกษตรกรผูปลูกผลผลิตทั้งสองอยาง โดยขอมูลในสวนนี้จะถูกนำเสนอในบทที่ 4 และ 5 ขอมูลที่ไดจาก
                                                                     ั
                                                                           
                    การสำรวจในสวนนี้ จะมีสวนสำคัญในการออกแบบคำถามในการสมภาษณและการสอบถามเกษตรกร





                                                             3-2
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40