Page 30 -
P. 30

ื
                                                                                ิ
                                 ิ
                                           ิ
                                                                   ิ
                                               ์
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                    การศึกษาโครงสรางการตลาดรวมกับการสำรวจความเห็นของเกษตรกร จึงมีขอมูลที่ใหรายละเอียดการ

                    ตัดสินใจของเกษตรกรในการบริหารความเสี่ยงและปญหาที่พบเจอในพื้นที่ อยางไรก็ตาม งานกลุมนี้ไมได

                    เจาะลึกถึงปญหาและมุมมองในการบริหารจัดการความเสี่ยงและการเผชิญหนากับเหตุการณไมปกติของ

                    เกษตรกร

                           ตัวอยางงานวิจัยที่ศึกษาพฤติกรรมในการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรรายครัวเรือนในไทย พชร

                    พัชร ถวิลนพนันท (2561)  ที่ศึกษามุมมองความเสี่ยง เหตุการณที่เกษตรกรเผชิญ และการปรับตัวและการฟน

                    ตัวของเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในจ.นาน โดยเปนการเปรียบเทียบระหวางเกษตรกรที่ปลูกพืชลักษณะ

                    เดียวกันในพื้นที่ราบและพื้นที่สูง โดยผลการศึกษาชี้ใหเห็นวา เกษตรกรมีความกังวลและเผชิญความเสี่ยงจาก

                                                                                           ั
                    ความผันผวนของราคามากที่สุด อยางไรก็ตาม ปจจัยที่สงผลตอระดับความกังวลนั้นแตกตางกนไป เชน จำนวน
                    แรงงานนอกภาคเกษตร การมีเงินออม รวมทั้งมีการจัดการปญหาที่แตกตางกันไปในแตละปจจัย อยางไรกตาม
                                                                                                     ็
                    การศึกษานี้ใหความสำคัญกับความแตกตางของพื้นที่ และจำกัดขอบเขตอยูเฉพาะเกษตรกรที่ปลูกขาวโพด
                    เลี้ยงสัตวเปนหลัก เชนเดียวกับงานของ Riwtong et al. (2019) ที่ศึกษาการเผชิญความเสี่ยงและการบริหาร

                    จัดการความเสี่ยงของเกษตรกรที่สูงในประเทศไทยเชนเดียวกัน แตศึกษาในรูปแบบที่ใหความสำคัญกบ
                                                                                                       ั
                    ประเด็นการใชสารเคมีในการเกษตรกับระดับเชิงพาณิชยของฟารม (level of commercialization)


                                                                           ั
                           สรุป: จากที่กลาวมาแลววาเกษตรกรตองเผชิญและจำเปนตองจดการกับความเสี่ยงในหลากหลายดาน
                    พรอมกันเสมอ การศึกษาความเสี่ยงจึงมีความจำเปนเพื่อชวยเกษตรกรในการออกแบบเครื่องมือที่เหมาะสม

                    อยางเปนระบบในการเตรียมพรอมรับมือ รวมถึงเสนอแนะภาครัฐในการดำเนินนโยบายใหสอดคลองกบปญหา
                                                                                                  ั
                    ที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้นเมื่อเกษตรกรรูถึงความเสี่ยงและวิธีจัดการกับความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพแลว เกษตรกร

                    สามารถเตรียมเครื่องมือในการปรับตัวไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเชนกัน




                    2.2 การปรับตัว


                                                                ื่
                           การปรับตัว เปนกระบวนการที่มีวัตถุประสงคเพอที่จะปองกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยง จาก
                    งานศึกษาที่เกี่ยวกับการปรับตัวสวนใหญศึกษาถึงการปรับตัวจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ

                    ภูมิอากาศ ดวยเหตุการณดังกลาวจะยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น กลยุทธการปรับตัวจึงยิ่งมีความจำเปนอยาง

                    ยิ่งตอการรับมือ ซึ่งสามารถจำแนกงานศึกษาได 2 ประเภท คือ 1) ปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการ

                    ปรับตัว และ 2) วิธีการหรือรูปแบบในการปรับตัว โดยมีรายละเอียดังนี้

                           1)  ปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการปรับตัว






                                                             2-7
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35