Page 27 -
P. 27
ิ
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ประเภทของความเสี่ยง แหลงที่มา (Sources)
ความเสี่ยงทางการตลาด ราคาซื้อปจจัยการผลิต
(marketing risk) ราคาขายผลผลิต
ความเสี่ยงทางสถาบัน - กฎระเบียบและนโยบายของรัฐ
(institutional risk) - การเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐานทางสังคม
- การเปลี่ยนแปลงนโยบายของคูคา
ความเสี่ยงในตัวบุคคล - สุขภาพ
(personal risk) - ความสัมพันธสวนบุคคล
ความเสี่ยงทางการเงิน - แหลงที่มาของเงินทุน
(financial risk) - การบริหารจัดการเงินลงทุน
- การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย
- วิธีการและเงื่อนไขการใหเงินสินเชื่อแกเกษตรกร
ที่มา: ประมวลจาก Komarek, Pinto and Smith (2020); Lazzaroni and Wagner (2016); Tukana and Gummow (2017); de May et al.
(2016) Uematsu and Mishra (2011); Sulewski and Kloczko-Gajewska (2014) Lee and Lim (2015); Coomes et al. (2016);
Mandal (2014); Förster, S. et al. (2008) Meng Dai et al., (2020); Meza, I. et al., (2014); Ronco, P. (2017); Cancelliere A.
(2007); Naylor, R. L. et al. (2007); Antón, J., et al. (2012); Davies, M. (2009); Hao, L., Zhang, X., Liu, S. (2012); FAO (2015);
Broll, U., Welzel, P., & Wong, K. P., 2013; Kang, M. G. (2005);Harvey et al. (2014); Lazzaroni and Wagner (2016);
Harwood et al. (1999); Kuklicke C. & Demeritt D. (2016); Arana I. et al. (2010); Tukana and Gummow (2017) Dercon et
al. (2005); de Mey et al. (2016)
อยางไรกดี ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรไมไดเกิดขึ้นทีละดานแตอาจเกิดขึ้นพรอม ๆ กัน แตงาน
็
ศึกษาสวนใหญที่เกี่ยวของกับความเสี่ยงทางภาคเกษตรมุงเนนการศึกษาไปที่ความเสี่ยงทางการผลิต ใน
ั
รูปแบบความสัมพนธระหวาง ความผันผวนของสภาพภูมิอากาศ และ ผลผลิต ซึ่งจะไมสามารถเห็นภาพรวม
ทั้งหมดของความเสี่ยงที่เกษตรกรเผชิญได (เชน Campbell et al., 2016; Naylor, R. L. et al., 2007;
Antón, J., et al., 2012); Davies, M., 2009); Hao, L., Zhang, X., Liu, S., 2012) งานศึกษาของ IPCC
(2019) ไดเนนย้ำถึงประเด็นดังกลาวเชนเดียวกัน ดวยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นพรอมกันนั้นยิ่งเกิดขึ้นพรอมกันมาก
ยิ่งเปนผลใหประสิทธิภาพในการปรับตัวลดลง และยังเปนโจทยที่ทาทายตอผูกำหนดนโยบายอีกดวย
สำหรับงานศึกษาความเสี่ยงในประเทศไทย จะพบวาในระยะที่ผานมามีงานที่ใหความสนใจกับความ
เสี่ยงและความเปราะบางของเกษตรกรในภาพรวมมากขึ้น โดยเฉพาะกลุมงานวิจัยดานการศึกษาโครงสราง
เกษตรกรของไทยผานขอมูลระดับครัวเรือนของสถาบันวิจัยปวย อึ๊งภากรณ เชน โสมรัศมิ์ จันทรัตน, วิษณุ
ึ
่
อรรถวานิช และบุญธิดา เสงี่ยมเนตร (2561) ไดศึกษาขอมูลจากสำมะโนเกษตรซึงชี้ใหเห็นถงประเด็นปญหาที่
เปนความเสี่ยงของภาคเกษตรของไทยหลายประการ คือ (1) ภาคเกษตรกำลังเผชิญกับปญหาสูงวัยของ
แรงงานเร็วกวาภาพรวมของประเทศโดยสัดสวนเกษตรกรสูงอายุ (อายุ 40-60 ป) มีรอยละ 49 จึงเสนอวาควร
ดึงดูดใหแรงงานวัยหนุมสาวจนถึงวัยกลางคนหันมาทำเกษตรมากขึ้น (2) ขนาดที่ดินกินของเกษตรกรมี
2-4