Page 22 -
P. 22

์
                                           ิ
                                                                   ิ
                              ื
                                                                                ิ
                                 ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                    ปรับการขายของตนเองได ในขณะที่เกษตรกรบางสวนยังไมสามารถปรับตัวตอสถานการณไดทัน ซึ่งโจทยที่

                    นาสนใจประการหนึ่งคือ การศึกษาวาเกษตรกรกลุมใดเปนกลุมที่ปรับตัวได ปจจัยอะไรเปนปจจัยสำคัญที่ทำให
                    เกษตรกรกลุมนี้มีความยืดหยุนมากกวากลุมอื่น รวมทั้งอะไรที่เปนอุปสรรคในการปรับตัวของเกษตรกรในชวง

                    วิกฤติที่เกิดขึ้น

                                                                                            ึ้
                           สถานการณการระบาดของไวรัสโควิด-19 เปนตัวอยางหนงของเหตุการณไมปกติที่เกดขน อยางไรก็ตาม
                                                                                          ิ
                                                                      ึ่
                                                                                  
                                                                                                 
                                                                                                 ิ
                    ในโลกที่มีความผันผวนในดานตางๆ มากขึ้น เกษตรกรจะเผชิญหนากับความเสี่ยงในดานตางๆ ที่เพ่มขึ้นและ
                    รุนแรงขึ้นมาก การศึกษาวิจัยชิ้นนี้ตองการที่จะศึกษาและเขาใจมุมมองของเกษตรกรที่มีตอความเสี่ยงในดานตางๆ
                    การเตรียมความพรอม ความสามารถและอุปสรรคในการปรับตัวเมื่อเกิดความเสี่ยง โดยจะพิจารณาถึงความเสี่ยง
                    ในทุกๆ ดานที่เกษตรกรเผชิญ แตจะวิเคราะหกรณีศึกษาของการระบาดของโควิดเปนตัวอยางสำคัญ
                    ในการศึกษาฉบับนี้




                    1.2 วัตถุประสงคของโครงการและขอบเขตของการศึกษา

                           1) ศึกษามุมมองของเกษตรกรที่มีตอความเสี่ยงและเหตุการณไมปกติที่ตนเองเผชิญ

                           2) ศึกษาการปองกันหรือการเตรียมความพรอมในการเผชิญหนาเหตุการณไมปกติ (กอนเกิดเหตุ) โดย
                    วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอการเตรียมความพรอมที่แตกตางกันระหวางเกษตรกร


                           3) ศึกษาการปรับตัวของเกษตรกรหลังจากเหตุการณการระบาดของไวรัสโควิด-19 โดยวิเคราะห
                    พฤติกรรม การตัดสินใจ ปญหาและอุปสรรค และปจจัยที่สงผลตอความสำเร็จในการปรับตัวของเกษตรกร

                    และการฟนตัวของเกษตรกร



                    1.3 ผลที่คาดวาจะไดรับ

                    1.3.1  ผลผลิต (Outputs)

                           1)  องคความรูตางๆ ประกอบดวย
                                 
                              -   มุมมองของเกษตรกรที่มีตอความเสี่ยงและเหตุการณไมปกติตางๆ


                              -  การเผชิญความเสี่ยงและเหตุการณไมปกติ

                              -  การเตรียมรับมือ (กอน)

                              -  การปรับตัวตอความเสี่ยงและเหตุการณไมปกติ (หลัง)

                              -  การฟนตัวของเกษตรกร

                           2)  ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมการรับมือและปรับตัวของเกษตรกร






                                                             1-2
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27