Page 21 -
P. 21

ิ
                              ื
                                                                                ิ
                                 ิ
                                           ิ
                                               ์
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                           บทที่ 1


                                                           บทนำ




                    1.1 ที่มาและความสำคัญ


                           ภาคเกษตรกรรมของไทยเปนภาคเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ แมวาจะมีสัดสวนตอ GDP ลดลงจากใน
                    อดีต แตยังคงเปนภาคเศรษฐกิจที่สำคัญที่มีความเกี่ยวเนื่องกับประชาชน ทั้งในแงการเปนแหลงรองรับการ

                    ทำงานของแรงงานจำนวนมาก และยังมีความสำคัญในแงการเปนแหลงความมั่นคงทางอาหารของประเทศ
                    อยางไรก็ตาม เกษตรกรสวนใหญในประเทศไทยยังคงประสบปญหามีรายไดนอย ตนทุนสูง เกิดหนี้สินสะสม
                    จำนวนมาก ทำใหการศึกษาวิจัยสวนใหญในดานเกษตรในประเทศมุงเนนไปที่การเพิ่มผลิตภาพการผลิต การ

                    เพิ่มรายได ใหกับเกษตรกรผานนโยบายและการสนับสนุนตางๆ

                           มีงานศึกษาจำนวนมากชี้ใหเห็นวา นอกจากเกษตรกรจะมีรายไดต่ำแลว ปญหาหลักที่สำคัญอีก

                    ประการหนึ่งของอาชีพเกษตรกรรมคือการเผชิญกับความเสี่ยงจากหลายแหลง เชน จากภัยธรรมชาติที่สงผล
                                                                                           ี
                    ตอผลผลิต ความผันผวนของราคา ความไมแนนอนในการขายสินคา ทำใหอาชีพเกษตรกรมความเสี่ยงสูง เมื่อ
                    เกิดเหตุการณความผันผวนตางๆ มักจะทำใหเกษตรกรที่ประสบปญหาไดรับผลกระทบรุนแรงและปรับตัวตอ
                    สถานการณไมได และยังฟนตัวจากปญหาที่เผชิญไดยาก ความเปราะบางของอาชีพเกษตรกรนี้มักจะสงผลให
                    เกษตรกรโดยสวนใหญมีปญหาดานหนี้สินเรื้อรังตามมา


                           นโยบายดานการเกษตรที่ผานมาของภาครัฐยังคำนึงถึงการจัดการความเสี่ยง การลดความเปราะบาง
                    การเพิ่มความเขมแข็งในการปรับตัว ไมมากนัก หนวยงานตางๆ ยังขาดองคความรูที่สำคัญในการออกแบบ

                    นโยบายที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะความเขาใจในมุมมอง ขอจำกัด และพฤติกรรมของเกษตรกรอยางแทจริงๆ เมื่อ
                    เกษตรกรขาดความเขมแข็งในการเผชิญเหตุการณไมปกติ (Shock) ทำใหภาครัฐยังมีหนาที่ที่ตองเขาไป

                    ชวยเหลือเปนการเฉพาะหนาเมื่อเกิดเหตุการณไมปกติขึ้นอยูเสมอ เห็นไดจากนโยบายดานการเกษตรสวนใหญ
                    ที่มักจะออกมาในลักษณะการอุดหนุนราคา การชดเชยความเสียหาย

                                                       ิ
                           เหตุการณการระบาดของไวรัสโควด-19 ในป 2563 เปนอีกเหตุการณไมปกติที่เกิดขึ้นและสงผล
                                                                                       
                    กระทบตอเศรษฐกิจเปนวงกวาง เหตุการณไมปกติ (Shock) ในครั้งนี้นาสนใจตรงที่เปนเหตุการณที่เกิดขึ้นใน
                    ฝงหวงโซอุปทาน ผลกระทบเกิดขึ้นตอการขนสง ชองทางการขายสินคา และการสงออก ซึ่งเกิดขึ้นไมบอยนัก

                    กับภาคการเกษตรไทย กระทบกับทั้งตลาดสงออกและการบริโภคในประเทศ นอกจากนี้ Shock ในครั้งนี้สงผล
                    ตอพฤติกรรมผูบริโภคในการซื้อสินคา จนอาจเกิดความปรกติใหม (New Normal) ในการซื้อสินคาเกษตร ซึ่ง

                    อาจสงผลตอการขายผลผลิตของเกษตรกรดวยเชนกัน

                           การปรับตัวที่เห็นไดชัดจากการระบาดของไวรัสโควิด-19 คือการปรับชองทางการขายของเกษตรกร
                    ไปสูการขายผลผลิตใหผูบริโภคโดยตรงทางออนไลนผาน platform ตางๆ มากยิ่งขึ้น ซึ่งมีเกษตรกรบางสวนที่
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26