Page 24 -
P. 24

ิ
                                               ์
                              ื
                                 ิ
                                                                                ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                   ิ
                                                           บทที่ 2


                                แนวคิดความเสี่ยงและการปรับตัว และงานศึกษาที่เกี่ยวของ




                           จากการสำรวจการศึกษาวิจัยในอดีตที่เกี่ยวของ สามารถแบงเนื้อหาออกไดเปน 3 สวน ไดแก
                                                                                                         
                    (1) การวิจัยที่เกี่ยวกับความเสี่ยงตางๆ ที่เกษตรกรเผชิญ (2) การวิจัยที่เกี่ยวของกับการปรับตัวของเกษตรกร

                    และ (3) งานที่เกี่ยวของกับการระบาดของเชื้อโควิด และ (4) ชองวางในการทำการวิจัย ดังนั้น เนื้อหา

                    วรรณกรรมปริทัศนในบทนี้จะแบงออกเปน 4 หัวขอดังกลาว โดยในแตละหัวขอจะอธิบายแนวคิดและผลจาก
                    การศึกษาที่เกี่ยวของเปนหลัก





                    2.1 ความเสี่ยง

                                                                       
                           ความเสี่ยง (risk) หมายถึง เหตุการณที่เกิดขึ้นที่มีผลลัพธหรือผลที่ตามมาไมแนนอน โดยเฉพาะอยาง
                    ยิ่งการเผชิญกับสถานการณที่ไมเปนไปตามคาดหรือการเผชิญกับความสูญเสีย นอกจากนี้ความเสี่ยงยังสงผลให

                    เกิดความสูญเสียในดานตาง ๆ ขึ้น เชน การไดผลผลิตต่ำ การไดรายไดต่ำ และเปนตนเหตุของเหตุการณรุนแรง

                    ตางๆ เชน การลมละลายทางการเงิน การสูญเสียความมั่นคงทางอาหาร ปญหาสุขภาพ (Huirbe, 2003;
                                                                                                       ั
                    Smith, Barret and Box, 2000; Wauters et al., 2014) ซึ่งเกษตรกรจำเปนตองเผชิญและบริหารจัดการกบ
                    ความเสี่ยงในหลากหลายรูปแบบและหลากหลายดานพรอมกัน อยางไรก็ดีเปนที่รูกันโดยทั่วไปวาเกษตรกร

                                                                                             ื่
                                                   ี
                                                  
                    โดยเฉพาะอยางยิ่งเกษตรกรรายยอยไมมศักยภาพและเครื่องมือเพียงพอในการบริหารจัดการเพอลดความเสี่ยง
                    ไดดวยตัวเอง (Jankelova, Masat and Moricova, 2017)
                           งานศึกษาของ Smith, Barret and Box (2000) ไดรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความเสี่ยงและ

                    สรุปถึงวิธีการศึกษาซึ่งพบวามี 2 รูปแบบหลัก ไดแก 1) เนนศึกษาการรับรูความเสี่ยง (perception and

                    preference) คือ ศึกษาการรับรูความเสี่ยง โดยไมคำนึงถึงความถี่ในการเกิดเหตุการณนั้น ๆ ในอดีตที่ผานมา

                    และ 2) เนนศึกษาความถี่ของความเสี่ยงที่เกิด ทั้งในลักษณะของการเกิดซ้ำและความรุนแรงที่เกิดขึ้น โดยใน

                    รูปแบบที่ 2 ผูศึกษามักนิยาม ความเสี่ยง วาเปนความรูที่ไมสมบูรณ (imperfect knowledge) ดวยเหตุที่

                                                                                                   ึ
                    ทราบความนาจะเปนของผลลัพทที่จะเกดขึ้น ซึ่งแตกตางจากความไมแนนอน (uncertainty) ที่จะไมรูถงความ
                                                   ิ
                    นาจะเปนเลย

                           สำหรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรในภาคเกษตร งานศึกษาของ Komarek, Pinto and Smith

                    (2020) ไดประมวลงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับความเสี่ยงตั้งแต ค.ศ. 1974 – 2019 ไดสรุปถึงความเสี่ยงที่
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29