Page 29 -
P. 29
ิ
ิ
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ี่
นอกจากงานจากสถาบันวิจัยปวยฯ แลวก็มีงานอีกจำนวนหนึ่งที่ศึกษาเกยวกับความเสี่ยงของ
เกษตรกรโดยใชฐานขอมูลที่รวบรวมภายใตโครงการ Thailand Vietnam Socio Economic Panel โดยเปน
การเก็บรวบรวมขอมูลในลักษณะ Panel data จากครัวเรือนเกษตรกรรายยอยของไทยในจังหวัดบุรีรัมย
อุบลราชธานี และนครพนม งานศึกษาในกลุมนี้มีจุดเดนคือสามารถใชการวิเคราะหขอมูลรายครัวเรือนเพอ
ื่
แสดงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรในชวงเวลาตางๆ โดยมีการเก็บขอมูลที่เกี่ยวกับความเปนอยู
เหตุการณไมปกติ ความเสี่ยง ความคาดหวัง และพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำใหสามารถวิเคราะหการ
ปรับตัวที่เกิดขึ้นระหวางชวงเวลาตางๆ อยางเปนพลวัตร (dynamic) ได ตัวอยางงานศึกษาที่นาสนใจในกลุมนี้
เชน Gloede, Menkhoff and Waibel (2015) ที่ศึกษาผลของการเผชิญความเสี่ยงที่มีตอมุมมองความเสี่ยง
ของเกษตรกร หรืองาน Waibel, Pahlisch and Volker (2018) ที่ศึกษามุมมองความเสี่ยงและการปรับตัวตอ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเกษตรกร และงานของ Praneetvatakul, Phung and Waibel (2013)
ที่เปรียบเทียบผลของการกระจายการเพาะปลูกที่มีผลตอความเปราะบางของเกษตรกรในไทยและเวียดนาม
โดยพบวาการกระจายการเพาะปลูก (diversification) มีผลตอการลดความเปราะบางของครัวเรือนเกษตรกร
อยางไรก็ตาม งานศึกษาในกลุมนี้มีขอจำกัดที่รอบการเก็บขอมูลที่มีจำกัด (เนื่องจากเก็บจำนวนมาก) และ
ั
ี่
ขอบเขตเชิงพื้นทที่เก็บในจงหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือเทานั้น ซึ่งก็จะทำใหพืชที่เกษตรกรปลูกถูกจำกดอยู
ั
ที่บางชนิดเทานั้น หากตองการศึกษาเกษตรกรในพื้นที่อื่นหรือผลผลิตอื่นก็จะไมสามารถใชฐานขอมูลนี้ได
นอกจากการศึกษาในภาพกวางแลว ยังมีงานที่ศึกษาโครงสรางการผลิตของผลผลิตบางประเภทหรือ
เกษตรกรในบางพื้นที่แลวพบวาปญหาความเสี่ยงเปนปญหาสำคัญสำหรับเกษตรกร เชน Khemarat
Talerngsri and Sittidaj Pongkijvorasin (2015) ที่แสดงใหเห็นวาเกษตรกรที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวบนที่สูง
เปนผูแบกรับความเสี่ยงในดานความผันผวนทางราคา และเมื่อเกษตรกรเผชิญปที่ราคาขาวโพดตกต่ำจะทำให
เริ่มเปนหนี้สิน และเขาสูวงจรอุบาทวของขาวโพดเลี้ยงสัตว ในขณะที่งานตอมาของ เขมรัฐ เถลิงศรี และสิทธิ
เดช พงศกิจวรสิน (2560) ก็แสดงใหเห็นวาเกษตรกรบนที่สูงที่ปลูกพืชอื่นแตขายในระบบตลาดแบบดั้งเดิมที่มี
พอคาคนกลางเขาไปรับซื้อผลผลิต ก็ยังคงเผชิญและเปนผูแบกรับความเสี่ยงของราคาเปนหลัก รูปแบบธุรกิจ
การเกษตรที่ควรถูกสนับสนุนควรจะมีบทบาทในการชวยเสริมสรางความเขมแข็งของเกษตรกรในการรับมือกับ
ความผันผวนตางๆ ที่เกิดขึ้นได นอกจากนี้ งานวิจัยอีกกลุมที่ศึกษาโครงสรางตลาดของผลผลิตบางชนิดก ็
ชี้ใหเห็นถึงความสำคัญของความเสี่ยงที่เกษตรกรตองเผชิญเชนกัน เชน สมพงษ ศิริโสภณศิลป, จักรกฤษณ
ดวงพัสตรา และจิตติชัย รุจนกนกนาฏ (2563) ที่ศึกษาโครงสรางตลาดผลไมทุเรียน และชี้ใหเห็นวาเกษตรกร
เผชิญความเสี่ยงหลายดาน เชน สภาพดินฟาอากาศ ราคาผลผลิต สุขภาพ การถูกกดราคา ผลผลิตลนตลาด
แหลงน้ำไมเพียงพอ คุณภาพทุเรียน ความเสี่ยงจากลง และการพึ่งพาตลาดจีนมากเกินไป งานกลุมนี้เปน
2-6