Page 34 -
P. 34
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
บทที่ 3
กรอบแนวคิดและวิธีการศึกษา
จากความสำคัญและชองวางในองคความรูดังที่ไดแสดงไวในบทที่ 1 และบทที่ 2 ผูวิจัยจึงตั้งใจจะ
ศึกษาเพื่อใหเขาใจถึงมุมมองตอความเสี่ยงและการปรับตัวของเกษตรกรที่ปลูกไมผล โดยเนื้อหาในบทที่ 3
แบงเปน 3 สวน ไดแก (1) กรอบแนวคิดในการวิจัย (2) วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และ (3) การกำหนดกลุม
ตัวอยาง โดยมีรายละเอียดดังน ี้
3.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
งานศึกษาฉบับนี้ผูวิจัยไดวางกรอบแนวคิดการศึกษาความเสี่ยง การเตรียมพรอมรับมือ และ การ
ปรับตัวตอเหตุการณไมปกติของไทยตามรูปที่ 3.1 โดยมีรายละเอียดคือ
ความเสี่ยง (Risk) หรือโอกาสที่จะเกิดเหตุการณไมปกติที่เกษตรกรจะตองเผชิญ มีรูปแบบที่จะมา
กระทบกับเกษตรกรใน 4 ลักษณะ (จากตามรูปที่ 3.1 เสนจากความเสี่ยง เรียงจากขวามาซาย) คือ
1) เปนความเสี่ยงที่เกษตรกรกังวลแตไมไดเกิดขึ้นจริง 2) เปนความเสี่ยงที่เกษตรกรกงวลแลวเกิดเหตุการณขน
ั
ึ้
จริง (shock) 3) เปนความเสี่ยงที่เกษตรกรกังวล และเหตุการณไมปกติยังเกิดขึ้นจริง (shock) และ 4) เปน
ความเสี่ยงที่เกษตรกรกังวล ไดเตรียมการปองกันไว แตไมไดเกิดขึ้นจริง
การบรรเทาความเสี่ยง (Ex-ante) คือ วิธีการในการเตรียมตัวเพื่อรองรับความเสี่ยงบางอยางที่จะ
เกิดขึ้นกอนที่จะเกิดเหตุการณไมปกติขึ้น (shock) ซึ่งจำแนกเปน 2 ลักษณะ คือ 1) มีการเตรียมความพรอม
เพื่อรองรับความเสี่ยงและมีเหตุการณไมปกติเกิดขึ้นจริง และ 2) มีการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับความเสี่ยง
แตเหตุการณไมปกติไมไดเกิดขึ้นจริง
ิ
เหตุการณไมปกติ (Shock) คือ ความเสี่ยงที่เกิดเหตุการณขึ้นจริง มีผลกระทบทำใหเกษตรกรเกด
ความเสียหาย
เกษตรกร คือ กลุมเกษตรกรที่ผูวิจัยจะทำการศึกษา ประกอบดวย เกษตรกรผูปลูกทุเรียน และ
เกษตรกรผูปลูกมะมวง
การปรับตัว (Adaptation) คือ กลยุทธหรือวิธีการที่เกษตรกรปรับตัวหลังจากการเผชิญกับเหตุการณ
ไมปกติ (shock)