Page 38 -
P. 38

ิ
                                 ิ
                                                                   ิ
                                                                                ิ
                              ื
                                               ์
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                    ที่มะมวงเปนผลไมที่มีครัวเรือนเกษตรกรเพาะปลูกมากที่สุด แตมีมูลคาการขายคอนขางต่ำ และผลไมทั้ง 2

                    ชนิดมีชวงการเก็บเกี่ยวที่ตรงกับชวงที่ไดรับผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโควิด-19โดยตรง


                    3.3.1  เกษตรกรผูปลูกทุเรียน

                           ในภาพรวม ทุเรียนเปนผลไมเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศไทย มีมูลคาสูงที่สุด สงออกไดมากที่สุด

                    พื้นที่ปลูกมากที่สุด สรางรายไดใหกับเกษตรกรมากกวาไมผลอื่นๆ อยางไรก็ดีเกษตรกรผูปลูกทุเรียนมีลักษณะ

                    แบงออกเปน 2 กลุมใหญอยางชัดเจน คือ กลุมทุเรียนภาคตะวันออก เปนกลุมที่มีการดูแลผลผลิตอยางดี ผลิต
                    ทุเรียนคุณภาพ เนื่องจากขายไดราคาดี ทั้งยังสงออกไดมาก คาดวามีศักยภาพในการปรับตัวสูง จำนวนครัวเรือน

                    ที่ปลูกต่ำกวาภาคใตมากแตปริมาณการขายผลผลิตสูงกวา (ตารางที่ 3.3) และ กลุมทุเรียนภาคใต เปนกลุมที่มี

                    ปญหาเรื่องการดูแลผลผลิต เนื่องจากขายไดราคาต่ำ คุณภาพไมดี ผลผลิตออกชากวากลุมตะวันออกและตน

                    ทุเรียนมีลักษณะเปนตนสูงการดูแลรักษายาก จึงคาดวามีศักยภาพในการปรับตัวต่ำกวา


                    ตารางที่ 3.3 จำนวนครัวเรือนและปริมาณการขายทุเรียนจำแนกตามภูมิภาคป 2562
                                                                                                ก
                                               จำนวนครัวเรือนที่ปลูก            ปริมาณการขายผลผลิต
                           ภูมิภาค
                                           (ครัวเรือน)       (รอยละ)         (ตัน)          (รอยละ)
                     ใต                         94,113            76.23         482,140           47.40
                     กลางและตะวันออก             19,885            16.11         503,988           49.55
                     เหนือ                        7,951             6.44          27,270            2.68
                     ตะวันออกเฉียงเหนือ           1,506             1.22           3,699            0.36
                    หมายเหตุ:   สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ กรมสงเสริมการเกษตร ใชวิธีสำรวจขอมูลตางกัน
                           ก
                    ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562) ประมวลผลโดยผูวิจัย

                    3.3.2  เกษตรกรผูปลูกมะมวง

                                              ี่
                           มะมวงเปนผลไมที่มีพื้นทปลูกกระจายอยูทั่วทุกภาคของประเทศไทย ทั้งยังมีหลากหลายพันธุ ซึ่งแตละ
                    พันธุก็จะมีลักษณะเฉพาะรวมถึงมีตลาดที่แตกตางกันไป ผูวิจัยจึงแบงกลุมเกษตรกรผูปลูกมะมวงออกเปน 2

                    กลุม คือ กลุมมะมวงภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ซึ่งสวนมากจะผลิตเพื่อบริโภคในประเทศ เชน พันธุ

                    มหาชนก ที่มีผลผลิตออกในชวงวิกฤตโควิด-19 และจากการล็อคดาวน ทำใหเกษตรกรและภาคการขนสง

                    ประสบกับปญหาการขนสงผลผลิตมายังกรุงเทพมหานคร และ กลุมมะมวงภาคกลาง (รวมถึงภาคตะวันออก

                    ภาคตะวันตก ประจวบคีรีขันธ นครราชสีมา) เปนกลุมที่ปลูกมะมวงราคาสูง เชน พันธุน้ำดอกไม เขียวเสวย ฟา
                    ลั่น ฯลฯ


                           ดังนั้น ผูวิจัยจึงออกแบบการสำรวจเกษตรกร โดยจำแนกกลุมเกษตรกรที่จะศึกษาไดดังตารางที่ 3.4







                                                             3-5
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43