Page 31 -
P. 31

์
                                 ิ
                              ื
                                           ิ
                                                                   ิ
                                                                                ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                           มีงานศึกษากลุมหนึ่งที่ชี้ใหเห็นวาปจจัยพื้นฐานของครัวเรือนที่แตกตางกันยอมสงผลตอความสามารถ

                    ในการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกร ไดแก การมีหรือพึ่งพิงรายไดมากกวา 1 แหลง ระดับการศึกษาและ

                    ความรู การมีทุนหรือทรัพยากรที่สามารถนำมาใชไดเมื่อยามจำเปน (Moench and Dixit; 2004) นอกจากนี้

                    ยังมี ประสบการณ เพื่อวางแผนใหเหมาะสมในการเพาะปลูกตามความเหมาะสมของแหลงทรัพยากรรวมถึง

                    การบริหารจัดการการใชประโยชนที่ดินใหปลูกพืชที่เหมาะสมตอสภาวการณ (Riwthong et al., 2017 และ

                    สาธิต อดิตโต, 2556) ซึ่งแตกตางจากผลการศึกษาของ Ravago et al. (2015) ที่พบวา ในปจจุบน
                                                                                                       ั
                    ประสบการณที่ผานมาเปนประโยชนนอยลงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเปนผลใหการคาดการณของ
                                       
                                                                                          
                    เกษตรกรมีความแมนยำลดลง

                           2)  วิธีการหรือรูปแบบในการปรับตัว


                           วิธีการหรือรูปแบบในการปรับตัวยอมแตกตางกันไปมากมายตามปจจัยตาง ๆ และภัยที่เผชิญ งาน
                    ศึกษาแตละงานจึงมีความเฉพาะเจาะจงในบริบทนั้น ๆ เชน พืชที่ปลูก ขนาดของพื้นที่ ความแตกตางทาง

                    เศรษฐกิจและสังคม (Vanwambeke et al., 2007) โดยการปรับตัวนั้นเปนไปเพื่อเปาหมาย 2 ประการ คือ 1)

                    ลดหรือบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น และ 2) การพัฒนาไปขางหนาตอไปในอนาคต (Moen and Dixit,

                    2004) สำหรับเหตุการณจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยจากฝนที่ไมตกตามฤดูกาล เกษตรกร

                                                       ็
                    สามารถปรับตัวไดโดย ลงทุนสรางแหลงกกเกบน้ำ การใชพันธุที่ทนตอความแหงแลงมากยงขึ้น การเลื่อนเวลา
                                                                                         ิ่
                                                    ั
                    ในการเพาะปลูก การกระจายการผลิต (crop diversification) และในบางประเทศมีการซื้อประกันภัยพืชผล
                    สวนภาครัฐสามารถชวยไดโดยการมีระบบเตือนภัยใหแกเกษตรกรอยางเนิ่น ๆ จากขอมูลพยากรณที่สามารถ

                    ทำได การสรางระบบชลประทาน (Naylor, R. L. et al., 2007; Arunanondchai, P., Fei, C., & McCarl, B.

                    A., 2017; Jianjun, J. et al., 2015) นอกจากนี้มีงานศึกษาบางชิ้นที่ชี้วาเกษตรกรสวนใหญไมมีการปรับตัว

                    เชนกัน (Ajibola, 2014)

                    2.3 ผลกระทบจากเหตุการณโควิด-19


                           สำหรับการปรับตัวจากเหตุการณโรคระบาด ประสบการณจากเหตุการณโรคระบาดที่เคยเกิดขึ้นใน

                    อดีตที่ผานมา งานศึกษาของ Mingzhe Pu & Yu Zhong (2020) ไดจำแนกลักษณะของผลกระทบไว 2 ลักษณะ

                    คือ 1) ลักษณะการระบาดของไวรัส Ebola, MERS และ SARS เปนโรคที่เกิดขึ้นในระยะเวลาอันสั้นและอยูใน
                    พื้นที่จำกัด จึงมีกระทบตอหวงโซอุปทานของสินคาเกษตรเฉพาะดานปจจัยการผลิต จากการเคลื่อนยายแรงงาน

                    ภาคเกษตร รวมถึงการกระจายปจจัยการผลิต เชน ปุย ยาฆาแมลง ในพื้นที่ที่ระบาดเทานั้น และ 2) ลักษณะการ

                    ระบาดของไวรัส H5N1 และ H1N1 แมวาจะระบาดไปทั่วโลก แตอยางไรก็ตามผลกระทบหลัก ๆ จะอยูที่ภาค

                    การผลิตเชนกัน ดวยสัตวปกและปศุสัตวตองถูกฆาเพื่อหยุดการแพรระบาดของโรค และอุปสงคในสัตวปก




                                                             2-8
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36