Page 25 -
P. 25

์
                                                                   ิ
                                           ิ
                                                                                ิ
                                 ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                              ื
                    เกษตรกรเผชิญไวหลักๆ 5 ดาน ไดแก ความเสี่ยงทางการผลิต (production risk) ความเสี่ยงทางการตลาด

                    (marketing risk) ความเสี่ยงทางสถาบัน (institutional risk) ความเสี่ยงในตัวบุคคล (personal risk) และ

                    ความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk) (รายละเอียดดัง ตารางที่ 2.1)


                           1)  ความเสี่ยงดานการผลิต

                           ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ งานสวนหนึ่งเนนศึกษา

                    ผลกระทบของความเสี่ยงที่สำคัญเพียงชนิดเดียว Coomes et al. (2016); Mandal (2014);  Förster, S. et

                    al. (2008) ไดศึกษาถึงภัยน้ำทวม ไดชี้ใหเห็นวาเกษตรกรมักเผชิญกับความเสี่ยงของน้ำทวม โดยเฉพาะอยาง

                    ยิ่งพืชไรที่ตองใชนำในการเพาะปลูกจำนวนมาก คือ ขาว ขาวโพด ขาวสาลี เปนตน ซึ่งสวนใหญเปนพืชที่ปลูก
                                  ้
                    ในที่ลุมใกลกับแหลงน้ำ เชน แมน้ำ ยังมีงานของ Meng Dai et al., (2020); Meza, I. et al., (2014); Ronco,

                    P. (2017) ที่ศึกษาถึงภัยจากความแหงแลงหรือการขาดแคลนน้ำซึ่งเปนปจจัยการผลิตที่สำคัญมากตอ
                    เกษตรกร Cancelliere A. (2007) ไดชี้ใหเห็นวา ลักษณะของความเสี่ยงที่เกิดจากความแหงแลงนั้นตางจาก

                    ภัยอื่น ๆ ตรงที่ภัยแลงจะเกิดขึ้นอยางชา ๆ และผลกระทบกินเวลาเปนระยะเวลานาน นอกจากนี้จะเปนงาน

                    ศึกษาภัยที่เกิดขึ้นโดยรวม เชน Naylor, R. L. et al. (2007); Antón, J., et al. (2012); Davies, M. (2009);

                    Hao, L., Zhang, X., Liu, S., (2012) ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย

                    ธรรมชาติตาง ๆ หลายประการ ประกอบดวย คลื่นความรอน ลมพายุ ดินถลม รวมไปถึงโรคพืช โรคแมลง
                    การปยเปอนของดิน เปนตน ซึ่งทั้งหมดนี้ทำใหเกิดความเสียหายตอระบบการผลิตและผลผลิตของเกษตรกร

                    เปนหลัก อาจมีบางภัยที่นอกจากจะสงผลตอการบวนการผลิตแลวยังสงผลไปยังกระบวนการอื่น เชน ภัยน้ำ

                    ทวมที่อาจสงผลตอความเสียหายของโครงสรางพื้นฐาน ภัยดินถลมที่อาจสงผลตอการขนสงสินคาไปยังตลาด

                    หรือปลายทาง (FAO, 2015)

                           ทั้งนี้ภัยแตละชนิดที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกอใหเกิดผลกระทบแตกตางกันไป

                    ดวยความแตกตางของปจจัยตาง ๆ เชน ภูมิศาสตรที่ตั้ง พืชที่ปลูก ชวงเวลาที่เกิด ฯลฯ จากงานศึกษาของ

                    FAO (2015) ไดประเมินคาเฉลี่ยของภัยทั่วทั้งโลกสำหรับภัยที่กอใหเกิดความเสียหายตอการเกษตรกรรมมาก

                                            
                    ที่สุดคือ น้ำทวม รองลงมาไดแก ลมพายุ และ ความแหงแลง ตามลำดับ

                           2)  ความเสี่ยงทางการตลาด

                           นอกจากประเด็นเรื่องการผลิตแลว เกษตรกรยังเผชิญกับความเสี่ยงและความไมแนนอนทางการตลาด

                    ที่ปจจัยเสี่ยงมาจากราคาของปจจัยการผลิตที่เกษตรกรตองซื้อ ราคาของผลผลิตที่เกษตรกรจะขายได และการ

                    เขาถึงตลาด (Broll, U., Welzel, P., & Wong, K. P., 2013; Kang, M. G., 2005) นอกจากนี้ยังมีปจจัยอื่น ๆ






                                                             2-2
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30