Page 93 -
P. 93

ิ
                                                                   ิ
                                               ์
                                           ิ
                                 ิ
                              ื
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                       9) ปัจจุบันแปลงใหญ่แต่ละที่ความสำเร็จขึ้นอยู่กับแต่ละกลุ่มไม่มีลักษณะของการทำงานเชิงระบบ ดังนั้น

                                                                                                         ้
               ควรที่จะต้องมีการจัดหาแนวทางในเชิงระบบเพื่อให้การบริหารจัดการแปลงใหญ่เป็นไปในทิศทางเดียวกันไม่ขึนอยู่
               กับตัวบุคคล
                       10) ผู้จัดการแปลงใหญ่จำเป็นจะต้องมีความรู้รอบด้านปัจจุบันอาจจะมีองค์ความรู้ไม่เพียงพอควรจะต้อง

               มีการส่งเสริมองค์ความรู้เพิ่มโดยเฉพาะมิติของเศรษฐศาสตร์
                       11) ยังพบปัญหาคือสมาชิกมีชื่อในแปลงใหญ่แต่กลับไม่มีส่วนร่วมในแปลงใหญ่ดังนั้นควรเลือกเฉพาะคนที่

               สนใจเข้าร่วมโครงการอย่างแท้จริงเพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด


                       4.5.3 การบริหารจัดการน้ำ
                          ค่อนข้างประสบความสำเร็จ ไม่ค่อยมีปัญหาเพราะ งบประมาณไม่ค่อยโดนตัด ซึ่งอันที่จริง

               ชลประทานบ้านเรายังแค่ 25-27%  ของพื้นที่เกษตรซึ่งน้อยมาก แต่เรายังมีแหล่งน้ำขนาดเล็กในไร่นา ที่พด. เข้า
               มามีบทบาทในการหาแหล่งน้ำมากขึ้น  ซึ่งการจัดการน้ำ เน้นไปที่ ชลประทานขนาดใหญ่และกลาง  ส่วนปัญหาที่
               ยังพบได้ เช่น

                       1) ปัญหาความร่วมมือของเกษตรกร ในเรื่องการเวณคืนที่ และการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการน้ำ ทำ
               ให้ไม่สามารถไปสร้างอะไรกับแหล่งน้ำได้

                       2) ปัญหาการนำน้ำเข้าสู่แหล่งน้ำ หรือการทำฝนเทียม มีบางช่วงที่ขขาดแคลนน้ำต้นน้ำ ซึ่งฝนหลงไม่ได้
               สำเร็จมากทุกครั้ง ทำให้การจัดการการเก็บกักน้ำซับน้ำมีปัญหา  (งบประมาณปัจจุบันลงที่กรมชล แต่ลงในพื้นที่
               ชลประทาน)

                       3) นโยบายภาครัฐควรมีความเหมาะสมตามพื้นที่ เช่น การทำบ่อขนาดเล็ก (ของ พด. )ไม่ได้เพียงพอต่อ
               ความต้องการของเกษตรกร   หรือ ภาคใต้มีฝนมากแต่ดินไม่อุ้มน้ำ เป็นต้น

                       4) ปัญหาดินและน้ำจะต้องไปด้วยกันนั่นคือจะต้องมีการทำน้ำเพื่อดิน กล่าวคือน้ำควรจะต้องไปเสริมกับ
               ดินที่ดีจะได้ช่วยเพิ่มศักยภาพ ดังนั้นควรจะมีการประเมินก่อนที่จะเริ่มโครงการว่าก่อนที่จะมีน้ำเกษตรกรมีรายได้

               ผลผลิต และความเสี่ยงอย่างไร และเมื่อได้น้ำแล้วสถานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรดีขึ้นหรือไม่ คือจะต้องเน้น
               พื้นที่ที่มีศักยภาพไม่ใช่ส่งเสริมกระจายไปทุกพื้นที่

                       5) ปัจจุบันเกษตรกรยังไม่เห็นคุณค่าของน้ำที่ใช้ทำให้เกิดการใช้น้ำอย่างขาดประสิทธิภาพอาจจำเป็น
               จะต้องมีการพิจารณาเก็บค่าน้ำในการทำการเกษตร


                       4.5.4 แผนการผลิตข้าวครบวงจร
                       1) ไม่สามารถพยากรณ์ Demand ในปีถัดไปได้ เพราะข้อมูลตลาดไม่ได้นำการผลิต- ในการทำแผนแต่ละ

               ปีจะทำแผนล่วงหน้า สศก. พยากรณ์ Supply แต่ Demand ได้มาจากการดำเนินงานของกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งก็
               จะมีการถามความต้องการผู้ประกอบการ แต่ข้อมูลเป็นความต้องการในปีปัจจุบัน หรืออาจถึงแค่ธันวาคม แต่

               แผนการผลิต คือช่วงปลูก พฤษภาคมปีถัดไป ไม่สอดคล้อง เพราะเป็นการนำ Demand ปีปัจจุบันไปกำหนด



                                                             75
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98