Page 99 -
P. 99

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                    2018) และทูนาแชเย็นแชแข็งที่ประเทศไทยสงออกดวย อยางไรก็ตามจากที่ทราบกันวา ประเทศไทย

                    มีฐานการผลิตและมีความเชี่ยวชาญทางดานการแปรรูปผลิตภัณฑสัตวน้ำ แตกรณีของปลาทูนานั้น

                    ประเทศไทยไมสามารถทำการประมงทูนาไดเพียงพอตอความตองการผลิตสินคาแปรรูป เนื่องจากการ
                    ทำประมงทูนานั้นเปนการทำประมงน้ำลึก ซึ่งแตกตางจากการทำประมงของไทยที่เชี่ยวชาญประมงผิว

                    น้ำ และหนาดินมากกวา จึงทำใหประเทศไทยตองนำเขาวัตถุดิบปลาทูนาจะตางประเทศที่มีการทำ

                    ประมงเชี่ยวชาญกวา ไดแก ประเทศไตหวัน ไมโครนีเซีย เกาหลีใต ญี่ปุน จีน นัวรู วานัวตู คิริบาส

                    มัลดีฟ และอินโดนีเซีย คิดเปนปริมาณนำเขาปละ 7 แสนตัน (สมาคมอุตสาหกรรมทูนาไทย, 2563)


                          วัตถุดิบปลาทูนาที่ประเทศไทยนำเขาหลัก สามารถแบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุมเรือประมง

                    ทูนาเบ็ดราว และกลุมเรือประมงทูนาอวนลอมจับ ซึ่งทั้งสองกลุมนี้จะมีรูปแบบการจับปลาทูนาที่

                    แตกตางกัน และการนำไปใชแปรรูปที่ตางกัน กลุมเรือประมงทูนาเบ็ดราวนั้น ปลาทูนา เปาหมาย

                    ไดแก ปลาทูนาครีบเหลือง (Yellow Fin) ปลาทูนาครีบยาว (Albacore) และปลาทูนาตาโต (Bigeye)
                    ซึ่งลักษณะของปลาทูนาที่จับไดโดยเครื่องมือเบ็ดราวจะเปนปลาทูนาขนาดใหญและเมื่อจับไดแลวจะมี

                    การแชแข็งในเรือ เนื้อของปลาทูนาที่จับโดยเบ็ดราวจะไดปลาที่คุณภาพดีกวาดวยกระบวนการจับและ

                    เก็บรักษา เมื่อถึงทาเรือในจังหวัดภูเก็ต และจะผานกระบวนการแปรรูปแชเย็นหรือแชแข็งในโรงงาน

                    แปรรูปและพรอมสงออกไปประเทศคูคา โดยเครื่องบินเพื่อความรวดเร็วและรักษาความสด ประเทศ

                    นำเขาที่สำคัญ คือ ประเทศญี่ปุน ซึ่งจะเปนประเทศหลักที่นำเขาปลาทูนาแชเย็นและแชแข็งเพื่อนำไป
                    ทำอาหารญี่ปุนซาซิมิ สัดสวนการแปรรูปปลาทูนาแชเย็นและแชแข็งจะมีประมาณรอยละ 3 อีกกลุม

                    เรือหลักคือเรือประมงทูนาอวนลอมจับ สวนกลุมเรือประมงทูนาอวนลอมจับ จะมีปลาทูนาเปาหมาย

                    ไดแก ปลาทูนาทองแถบ (Skipjack) และ ปลาทูนาครีบเหลือง เปนสวนใหญ ซึ่งวิธีการทำประมงจะ

                    แตกตางจากเบ็ดราว ขนาดของปลาทูนาจะมีขนาดเล็กกวารวมถึงเครื่องมือทำประมงจะทำใหคุณภาพ

                    ของปลาทูนาจะดีนอยกวา เนื่องจากจะนำไปผลิตเปนปลากระปองไมตองคุณภาพเทากับการนำไปทำ

                    ซาซิมิ หลังจากทำประมงทูนาแลว จะนำเขาหองเย็นในเรือประมง นำสงที่ทาเรือในบริเวณจังหวัด

                    สงขลา และสมุทสาคร กอนนำสงใหกับโรงงานแปรรูปเพื่อผลิตปลาทูนากระปองตอไป ทั้งนี้โรงงานผู
                    แปรรูปจะตั้งอยูในจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสงขลาเปนสวนใหญ โดยผลิตทั้งหมดรอยละ 97 ดังภาพ

                    ที่ 5. 2









                                                       หนา |90
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104