Page 104 -
P. 104

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                 5.3 การวิเคราะหมูลคาในโซอุปทานสัตวน้ำของไทย :กรณีศึกษา ปลากะพง


                                 โซอุปทานในอุตสาหกรรมปลากะพงขาวของไทย กรณีศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเปนพื้นที่

                          หลักในการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว และเปนแหลงเพาะพันธุลูกปลากะพงขาวที่ใหญที่สุดในประเทศ

                          ไทย ตนน้ำของอุตสาหกรรมปลากะพงขาวจะประกอบดวยปจจัยการผลิตหลักๆ 2 อยาง คือ ลูกพันธุ
                          และอาหารปลากะพง ในกลุมของลูกพันธุ ประกอบดวย หลายธุรกิจ ไดแก ธุรกิจเพาะฟก ธุรกิจ

                          อนุบาลลูกพันธุ นอกจากปจจัยการผลิตแลว ตนน้ำยังประกอบดวยผูเลี้ยงปลากะพงขาวดวยซึ่งจะมี 2

                          รูปแบบ คือ การเลี้ยงดวยกระชังและการเลี้ยงดวยบอดิน เพราะถือเปนวัตถุดิบสำคัญในโซอุปทานที่

                          จะนำไปสูผลิตภัณฑปลายทาง สำหรับกลางน้ำ ประกอบดวย ผูรวบรวม แพปลา/พอคาสง พอคาปลีก

                          และปลายน้ำประกอบดวยธุรกิจหองเย็น แปรรูปผลิตภัณฑ/สงออก รานอาหาร บริษัทผลิตอาหาร ดัง

                          ภาพที่ 5. 3


                                 การเพาะฟกพันธุปลากะพงขาว เปนธุรกิจขนาดไมใหญมาก ที่รวบรวมพอแมพันธจากบอ

                          เลี้ยงปลากะพงขาวที่มีการเติบโตนานกวาปลากะพงที่ตองการขายในราคาตลาด หลังจากนั้นจะทำ
                          การฉีดฮอรโมนเพื่อใหปลากะพงวางไข และเลี้ยง ธุรกิจเพาะฟกมีจำนวนไมมากนักเมื่อเทียบกับ ธุรกิจ

                          อนุบาล หรือธุรกิจผูเลี้ยงปลากะพง เนื่องจากจะตองใชความเชี่ยวชาญในการเพาะพันธุที่จะพยายาม

                          ทำใหลูกพันธุแข็งแรงและมีอัตรารอดที่สูง


                                 กิจการเพาะฟกจะมีพื้นที่ฟารมในการดำเนินการทั้งหมดโดยเฉลี่ย 1.04 ไร แบงเปนขนาด 2
                          เมตรตอไร จำนวนบอโดยเฉลี่ย 15.8 บอ มีเงินลงทุนในการทำฟารมเพาะฟกโดยเฉลี่ยของผูเพาะพันธ

                          ทั้งหมด 1,585,714 บาท สวนใหญสถานประกอบการจะตั้งอยูบริเวณ ตำบลสองคลอง พอแมพันธ
                          ของเจาของฟารมจะเลือกพันธุที่มีความแข็งแรงและสมบูรณ โดยดูจากลักษณะของพอแมพันธ อายุ

                          และตองมาจากน้ำเค็ม หรือบางครั้งอาจจะดูจากสีของไขวาสมบูรณไม แหลงการจัดหาพอแมพันธมา
                          จากหลายพื้นที่ ไดแกอำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดจันทบุรี และอำเภอแมกลอง จังหวัด

                          สมุทรสงคราม บางรายซื้อปลามาจากกระชังในพื้นที่ โดยสั่งพอแมพันธน้ำหนัก 5-6 กิโลกรัมและจาก
                          ฟารมเพาะฟกดวยกัน ซึ่งสวนใหญจะเลือกจากการเลี้ยงพอแมพันธุในกระชัง การคัดเลือกไขและลูก

                          พันธุจากการเพาะฟกเพื่อนำมาอนุบาล ผูเพาะฟกจะสังเกตจากลักษณะสีของไขปลา ไขปลาที่มีความ
                          สมบูรณจะมีลักษณะเปนไขปลาสีขาวขุน หากไขปลาเปนสีดำ จะพบวาไขปลาไมสมบูรณ








                                                              หนา |95
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109