Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

































                                 ภาพที่ 5. 2 โซอุปทานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑปลาทูนาของประเทศไทย

                                 ที่มา: Kuldilok K. (2009)


                                 ปลายน้ำของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑปลาทูนาของไทย โดยหลักแลวผลิตภัณฑจะสงออกเปน

                          หลักประมาณรอยละ 99 สวนที่เหลือบริโภคในประเทศ ปลาทูนาแชเย็นและแชแข็งจะสงออกไป

                          ประเทศญี่ปุน คิดเปนรอยละ 9 ของปริมาณผลิตภัณฑปลาทูนาทั้งหมด และปลาทูนากระปองจะ

                          สงออกไปประเทศสหรัฐอเมริกา (รอยละ 29) มากที่สุด รองลงมาคือ กลุมสหภาพยุโรป (รอยละ 14)

                          Kuldilok K. (2009)


                                 ปญหาและอุปสรรค


                                 สำหรับปญหาหลักของอุตสาหกรรมปลาทูนาของประเทศไทย ยังคงเปนเรื่องของการนำเขา

                          วัตถุดิบ และนำมาแปรรูปสงออกคือ ขอจำกัดทางการคา ในอดีตจะเปนเรื่องของการกำหนดมาตรฐาน

                          สินคาและกฎแหลงกำเนิดสินคา ซึ่งจะตองมีวัตถุดิบในประเทศและผลิตสินคาแปรรูปเพื่อสงออกในป
                          2548 (Kuldilok K. et al, 2013) ขอกำหนดมาตรฐานของสหภาพยุโรปในปพ.ศ.2544 เปนขอกำหนด

                          เรื่องสารปนเปอน และการกำหนดระดับของสารปนเปอนขั้นต่ำ ในป 2553 เปนเรื่องเกี่ยวกับการ

                          ตรวจสอบยอนกลับสินคาอาหารทะเลที่จะตองมีใบรับรองวาไมใชการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาด

                          การรายงาน และไรการควบคุม (IUU Fishing) สำหรับประเทศสหรัฐอเมริกา เปนขอกำหนดดานสาร

                          ปนเปอนเชนกัน รวมทั้งการกำหนดมาตรฐาน HACCP และ ในปพ.ศ.2556 มีการเพิ่มเรื่องการทำ
                          ประมงที่ตองมีฉลากความปลอดภัยตอปลาโลมา (Dolphin safe label) และการบริหารจัดการ


                                                              หนา |91
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105