Page 96 -
P. 96

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                                                                 บทที่ 5


                                                                    การจัดการโซอุปทานสัตวน้ำของไทย



                                 ในบทนี้เปนการเรียนรูรูปแบบของการจัดการโซอุปทานสัตวน้ำของไทย การจัดการโซอุปทาน

                          เปนวิธีการศึกษาและวิเคราะหอุตสาหกรรมเปนระบบ โดยพิจารณาทุกสวนที่เกี่ยวของตั้งแตตนน้ำถึง

                          ปลายน้ำ กระบวนการจัดการแตละหวงโซจะเปนกิจกรรมที่บงบอกการจัดการอยางมีประสิทธิภาพ

                          เพียงพอที่จะสงถึงปลายน้ำและสงถึงมือผูบริโภคหรือผูใชบริการอยางปลอดภัยและมีคุณคา ดังนั้นใน
                          แตละหวงโซจะอธิบายถึงกิจกรรมหลักที่ไดดำเนินการ มาตรฐานที่ควรจะมี การเพิ่มมูลคาสินคา และ

                          การพัฒนาใหแตละหวงโซมีการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ


                                 5.1 แนวคิดดานการจัดการโซอุปทาน


                                 โดยปกติการศึกษาดานโซอุปทาน (ภาพที่ 5. 1) จะประกอบดวยการศึกษาและวิเคราะห

                          ผูเกี่ยวของในโซอุปทาน ไดแก ผูผลิตปจจัยการผลิต ผูผลิตสินคา ผูรวบรวม กลุมคาสง และกลุมคา

                          ปลีก โดยมีกิจกรรมหลักประกอบดวย (1) เริ่มตั้งแตการจัดหาปจจัยการผลิต การผลิต จนถึงการขาย

                          (2) การรวบรวม (3) การคาสง (4) การคาปลีก และ (5) โลจิสติกส ซึ่งเปนกิจกรรมการขนสงสินคา

                          จากตลาดไปสูตลาดผูบริโภคปลายทาง โดยที่โซอุปทานสินคาเกษตร จะเกี่ยวของกับการไหลเวียนของ

                          3 กิจกรรม ไดแก การไหลเวียนของสินคาทางกายภาพ (Physical product flows) ประกอบดวยการ
                          เคลื่อนยายสินคาจากผูจัดการวัตถุดิบ ไปจนถึงผูผลิต และผูบริโภค การไหลเวียนทางการเงิน

                          (Financial flows) ไดแก เครดิตเทอม การใหสินเชื่อเปนตน และการไหลเวียนขอมูล (Information

                          flows) (M4P, 2008)


                                 1) การวิเคราะหโซอุปทาน จะเปนการวิเคราะหเพื่อศึกษากิจกรรมที่เกิดขึ้นในแตละระดับ

                          จากตลาดตนน้ำไปถึงตลาดปลายน้ำ วิเคราะหความสัมพันธของโซอุปทานในระดับตาง ๆ รวมทั้ง

                          บทบาทหนาที่ของแตละกิจกรรมในโซอุปทาน ซึ่งจะเปนการวิเคราะหเชิงบรรยาย และดึงถึงจุดเดน
                          และขอจำกัดของแตละหวงโซเพื่อปรับปรุงและพัฒนาใหดียิ่งขึ้น


                                 2) การวิเคราะหความเชื่อมโยงในแตละระดับของโซอุปทาน หลังจากวิเคราะหโซอุปทานใน

                          ภาพรวมแลว จะวิเคราะหความเชื่อมโยงของการกระจาย ขาวสาร ผลิตภัณฑ บริการ การเงิน และ

                          ความรูในแตละระดับของโซอุปทาน และวัดตนทุนสวนเพิ่ม กำไร และสวนเหลื่อมตลาด ตลอดโซ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101