Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                    ดาว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2561 ในชวงแรกที่มีการประกาศใชอยางรวดเร็ว ซึ่งทำใหผูประกอบการประมง
                    ไมสามารถปรับตัวไดทัน ปญหาที่พบ ไดแก


                          -ปญหาตนทุนของผูประกอบการเรือประมง ซึ่งพบวา ตนทุนของผูประกอบการประมง

                    เพิ่มขึ้น รอยละ 80 เนื่องจากระบบการเปลี่ยนแปลงการจายคาจางแรงงานเปนรายเดือนโดยผานบัญชี
                    ธนาคาร ซึ่งการออกทำประมงไมสามารถออกประมงไดทุกเดือน ชวงที่หยุดก็ตองจายคาแรงงาน

                    นอกจากนั้นผูประกอบการตองจายคาใชจายจำนวนมากจากการทำบัตรใหแรงงาน และเซ็นตสัญญา
                    จางแลว หากแรงงานไมปฏิบัติตามสัญญาจางและหนีจากการทำงาน ผูประกอบการเรือตองเสีย
                    คาใชจายไปโดยเปลาประโยชน (BBCNews, 2019) บางกรณีลูกจางรับคาจางลวงหนาแลวไมยอม

                    ออกเรือหรือหนี ทำใหผูประกอบการเรือประมงตองเสียเวลาในการหาลูกจางใหม ซึ่งลูกจางเกาจะไป
                    เปลี่ยนนายจางและกระทำเหมือนเดิม (สราวุธ, 2562) สอดคลองกับงานวิจัยที่พบวา (จิราภัษ  และ

                    คณะ, 2562) ตนทุนคาจางแรงงานในการทำประมงยังมีสัดสวนที่เพิ่มขึ้นจากในอดีตคอนขางสูง รอย
                    ละ 19.39-35.90 สำหรับกลุมเครื่องมืออวนลาก และรอยละ 1.98-2.25 สำหรับอวนลอมจับ ทั้งนี้

                    เนื่องจากการจัดระบบการจางแรงงานตามกฎหมายที่เขมงวดมากขึ้น ทั้งในเรื่องการจดทะเบียน
                    แรงงาน ที่มีขั้นตอนซับซอนไมสะดวกในการดำเนินการ การจายคาแรงงานที่เปลี่ยนแปลงจากการ

                    จายเงินสดหลังออกเรือ ตองมาจายผานบัญชีหรือใหลูกจางถอนจากบัตรเอทีเอ็มและการรับภาระ
                    คาจางแรงงานในชวงหยุดทำประมงทำใหมีคาใชจายที่เพิ่มสูงขึ้นจากในอดีต ผูประกอบการเรือประมง

                    ตองมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจายคาแรงงานของลูกเรือ ซึ่งเดิมอาจจะจายเปนรายเดือนและจาย
                    เพิ่มจากสัดสวนของรายได แตตองปรับมาเปนรายเดือนที่คงที่ขั้นต่ำ ความไมแนนอนของการทำ

                    ประมงเกิดขึ้นบอยครั้ง บางครั้งไมสามารถทำประมงได หรือทำประมงไดนอย แตจะตองเสีย
                    คาแรงงานเปนเงินเดือนคงที่ ซึ่งจะกระทบตอรายไดที่ไดรับเปนอยางมาก ทั้งนี้ชวงแรกของการบังคับ
                    ใชไดถูกจำกัดจำนวนวันทำประมงใหลดลงดวย ทำใหเกิดเรือประมงบางลำอยูในภาวะขาดทุน


                          -ปญหาการขาดแคลนแรงงานเพิ่มขึ้นในชวงแรก เนื่องจากการนำเขาแรงงานแบบ MOU นั้น

                    มีคาใชจายสูง ตองใชเอกสารจำนวนมาก ขั้นตอนในการดำเนินงานใชเวลานาน แรงงานที่ไดมาไม
                    สามารถทราบไดวาจะทำงานไดหรือไม และจะอยูจนครบสัญญาหรือไม ทำใหมีความเสี่ยงในการ

                    เสียเวลาและคาใชจาย ทำใหผูประกอบการเรือประมงขาดแรงงานจากอุปสรรคการนำเขาแรงงานตาง
                    ดาว จำนวนแรงงานจึงไมเพียงพอตอการทำงานในภาคการประมง สงผลกระทบใหเรือประมงไม

                    สามารถออกเรือไดและหยุดทำการประมงเปนเวลานาน (สราวุธ, 2562)
                          -ปญหาการประสานงานกับภาครัฐที่ขาดการบูรณาการและความตอเนื่อง พบวา เจาหนาที่

                    ภาครัฐไมเขาใจสถานการณของการทำประมง ทำใหขอกฎหมายไมสามารถปฏิบัติไดจริง ฐานขอมูล
                    ของภาครัฐขาดความสมบูรณ และขาดการบูรณาการระหวางหนวยงาน (สราวุธ, 2562)



                                                       หนา | 84
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99