Page 89 -
P. 89

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                          เปลี่ยนแปลง ถึงแมวาจะมีการเปลี่ยนแปลงและอนุญาต คนตางดาวทำงานกรรมกรประมงแลวในป
                          พ.ศ.2536 การปฏิบัติกับแรงงานขามชาติแบบเดิม ๆ อยางตอเนื่องโดยเฉพาะในชวงป  2540-2551

                          ที่มีการขาดแรงงานขามอยางหนัก การนำเขาแรงงานตางดาวจึงมีจำนวนมากเพื่อทำงานในเรือประมง

                          Timeline การใชแรงงานในการทำประมง


                                                                                               พ.ศ.2560
                                                เศรษฐกิจ    แรงงานตาง                       พรก.การบริหาร
                                               เติบโตตองการ  ดาวผิดกม.                     จัดการของคนตาง
                                                 แรงงาน     เขามาทำงาน     พ.ศ.2551          ดาว พ.ศ.2560
                             พรก.กำหนดงานในชีพและวิชา                       ขาดแรงงาน        พรก.ปองกันและ  พ.ศ.2561-
                             ชิพที่หามคนตางดาวทำ พ.ศ.      พ.ศ.2540     ภาคอุตสาหกรรม      ปราบปราม      ปจจุบัน
                                                                                                                                                     ไทยไดปรับเปน
                                                                           ประมงตอเนื่อง
                                   2522
                                                 พ.ศ.2536
                                                                                              การคามนุษย
                                                                                                            Tier2
                                                            ขาดแรงงานขาม


                            พ.ศ.2503        พ.ศ.2532                         พ.ศ.2557   พ.ศ.2558   พ.ศ.  พ.ศ.
                  การทำ                     พายุเกย                        -ไทยถูกจัด  IUU Fishing   2559   2562
                  ประมง     นำเทคโนโลยี                                               (ใบเหลืองจาก   ไทยได  ไทยได
                  พื้นบาน   อวนลากแผน     -เรือประมง                        อันดับ    EU)      ปรับ   ปลด
                            ตะเฆเขามา
                  -แรงงานไทย                ลม 200 ลำ                                          Tier2
                  จาก N/E                   ชาวประมง
                  -เศรษฐกิจยัง              เสียชีวิต 400
                  ไมเติบโต                 ราย
                                            -แรงงานไทย
                                            เลิกทำประมง

                          ภาพที่ 4. 3 ชวงเวลาของการเปลี่ยนแปลงการจางแรงงานในภาคการประมง


                          ที่มา: เรืองสุวรรณา (2561) และ มูลนิธิกระจกเงา (2554)


                                    ปญหาการจางแรงงานแบบไมถูกตองเกิดมากขึ้นเรื่อย ๆ รูปแบบของการไดมาซึ่งแรงงาน
                          ประมงในแบบที่ไมถูกตองตามกฎหมายนั้น เกิดขึ้นหลายวิธี เชน การถูกลอลวงไปทำงาน การตีสนิท

                          กับเหยื่อ การลักพาตัว การทำงานใชหนี้ และการลักลอบนำแรงงานเขาเมือง ซึ่งจะเห็นวามีทั้งแรงงาน
                          ไทยและตางดาวที่ถูกหลอกมาทำงานในเรือประมงโดยไมไดเต็มใจ หลังจากนำตัวมาแลว จะถูกกักขัง

                          ไวกันเปนกลุม ในหองเชา รอเวลาทำงานในเรือประมง เมื่อลงเรือประมงแลว จะใชเวลาในเรือประมง
                          ระยะเวลานาน หลังจากเสร็จจากการทำประมง บางครั้งไมไดขึ้นฝง มีการขายลูกเรือตอไปให
                          เรือประมงลำอื่นๆ ตอเนื่องกันไป (มูลนิธิกระจกเงา, 2554)


                                    การทำงานของลูกเรือนั้น พบวา นายจางบางราย มีการปฏิบัติตอแรงงานในเรือที่ไม

                          สมควร มีการบังคับใหลูกเรือทำงานทุกวัน ไมมีวันหยุด พักผอนไมเปนเวลา การกินอาหารเพียง 2 มื้อ
                          หนาที่หลักของลูกเรือ ประกอบดวย การกูอวน คัดแยกปลา ซอมอวน ลงน้ำไปผูกอวนไวกับทุน การ





                                                              หนา | 79
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94