Page 93 -
P. 93

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                          4.5 ผลกระทบของนโยบายการแกไขปญหาแรงงานในภาคอุตสาหกรรมสัตวน้ำ


                                    ตามที่ภาครัฐไดมีการแกไขปญหาอยางเรงดวน ปฏิรูป มาตรการในการบริหารจัดการ
                          สำหรับในดานแรงงาน มีพรก.ที่เกี่ยวของ ไดแก พรก.การประมง พ.ศ.2558 พรก.การประมง พ.ศ.

                          2558 (ฉบับที่ 2) พรก.การบริหารจัดการของคนตางดาว พ.ศ.2560 พรก.การบริหารจัดการของคน

                          ตางดาว พ.ศ.2560 (เพิ่มเติม) และพรก.การบริหารจัดการของคนตางดาว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2561 และ

                          พรก.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 ซึ่งในชวงแรกนั้น เกิดผลกระทบ

                          อยางหนักกับผูประกอบการเรือประมงพาณิชยและพื้นบาน เนื่องจากตองมีการปรับตัวอยางมากใน

                          กฎระเบียบตางๆ เกี่ยวกับการจางแรงงานตางดาวจนถึงปจจุบัน จากการแกไขของภาครัฐอยางจริงจัง

                          ในป 2559 ประเทศไทยไดรับการปรับสถานะจากระดับ Tier3 เปน Tier2 (Watch List) และไดปรับ
                          อยูในระดับ Tier2 อีกครั้งในป 2561 จนกระทั่งถึงปจจุบันป 2563 ยังสามารถรักษาระดับ Tier2 เปน

                          ระยะเวลา3 ป (ผูจัดการ, 2559) และ ฐานเศรษฐกิจ , 2559)) ความพยายามอยางตอเนื่องในการ

                          แกไขปญหาดานแรงงานของภาครัฐเริ่มเห็นผลเปนรูปธรรม เมื่อกระทรวงตางประเทศสหรัฐฯ

                          ปรับเพิ่มสถานะของประเทศไทยจากระดับ Tier 3 เปน Tier 2 (Watch list) ในรายงาน

                          สถานการณการคามนุษย (TIP Report 2016) ในวันที่ 30 มิถุนายน 2559 และประเทศไทยไดรับ
                          ใบเขียวจากสหภาพยุโรปในป 2562 (สยามรัฐ, 2562)


                                    แมวาปจจุบัน ประเทศไทยไดรับการระดับ สถานะที่ดีขึ้น จาก Tier 3 เปน Tier 2 แตจาก

                          ผลของการบริหารจัดการแรงงานตางดาวของรัฐบาล การปฏิบัติเปนไปอยางเรงรีบ ขาดการประสาน
                          และหารือกับผูเกี่ยวของในอุตสาหกรรมการประมง ไมวาจะเปนกลุมชาวประมงพื้นบาน กลุม

                          ชาวประมงพาณิชย กลุมผูประกอบการสินคาประมง สมาคมดานการประมงและผลิตภัณฑประมง นั้น
                          สงผลกระทบในหลายดาน การบริหารจัดการแรงงานตางดาวทั้งระบบยังดำเนินการไดไมดีเทาที่ควร

                          เนื่องจากขาดการบูรณาการของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ไมสามารถกำหนดผูรับผิดชอบไดชัดเชน
                          นโยบายที่มีไมสามารถตอบสนองตอสถานการณแรงงานตางดาวที่เปนจริง ขาดความตอเนื่อง ขาด

                          ความชัดเจน จึงสงผลใหไมประสบความสำเร็จ รวมถึงกระบวนการปฏิบัติตามนโยบายมีความซับซอน
                          ใชเวลานาน องคกรภาครัฐขาดความรู ความเขาใจ และอัตรากำลังที่เพียงพอ (กรมพัฒนาสังคมและ

                          สวัสดิการ, 2561)

                                    ผูประกอบการเรือประมง ผูประกอบการเรือประมงไดรับผลกระทบจาก พรก.การประมง

                          พ.ศ.2558 พรก.การประมง พ.ศ.2558 (ฉบับที่ 2) พรก.การบริหารจัดการของคนตางดาว พ.ศ.2560
                          พรก.การบริหารจัดการของคนตางดาว พ.ศ.2560 (เพิ่มเติม) และพรก.การบริหารจัดการของคนตาง



                                                              หนา | 83
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98