Page 88 -
P. 88

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                    4.3 ปญหาของแรงงานในภาคอุตสาหกรรมสัตวน้ำ


                    1.ระดับการทำประมงในเรือประมง

                             ในอดีตการทำประมงเปนเพียงการทำประมงพื้นบานที่มีเพียงครัวเรือนเปนชาวประมงเอง

                    ทำประมงเพื่อยังชีพหรือเพิ่มรายไดจากรายไดหลัก เพื่อขยายการทำประมงเพิ่มมากขึ้น มีการจาง

                    แรงงาน แรงงานทั้งหมดจะเปนคนไทยที่มาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนหลัก ในป 2503 ไดมี

                    การเริ่มนำเทคโนโลยีของเครื่องมือประมงจากตางประเทศไดเขามาในประเทศไทย จนทำใหการทำ

                    ประมงมีวิวัฒนาการที่ขยายอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นในเชิงพาณิชย ดวยความตองการดานอาหารทะเลที่

                    เพิ่มขึ้น การทำประมงที่มีทั้งประมงในนานน้ำและนอกนานน้ำ ซึ่งอาจจะมีระยะเวลาในการทำประมง
                    ยาวนานออกไป ความเสี่ยงจากการทำงานก็เพิ่มสูงขึ้น ความเสี่ยงจากธรรมชาติก็เพิ่มสูงขึ้น

                    เชนเดียวกัน ในชวงป 2536 การเกิดภัยธรรมชาติรุนแรง พายุเกย สงผลกระทบใหเรือประมงสูญหาย

                    200 ลำและ ชาวประมงไทยเสียชีวิต 400 ราย เปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหแรงงานไทยลดนอยลงจากการ

                    ทำประมงนอกจากนั้นแลวเมื่อแรงงานไทยมีการพัฒนาเพิ่มขึ้น ทั้งในดานของการศึกษา และความ

                    เปนอยู กอรปกับในชวงป 2532-2536 เศรษฐกิจในประเทศไทยมีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น
                    อุตสาหกรรมที่ตองการแรงงานมีจำนวนมากขึ้น ทำใหแรงงานคนไทยมีทางเลือกในการทำงานจึงผันไป

                    ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม อาชีพการทำประมงจะเปรียบเสมือนอาชีพที่ตองทำงานหนัก มีความ

                    เสี่ยง คาแรงไมเหมาะสมกับการทำงานที่หนัก ดังนั้นจำนวนแรงงานประมงที่เปนคนไทยจึงนอยลง

                    เรื่อยๆ การทดแทนแรงงานจากประเทศอื่นๆ จึงเขามาทดแทน เชน แรงงานจากประเทศพมา และ

                    กัมพูชา ขึ้นอยูกับพื้นที่การทำประมงวาจะใกลกับพื้นที่ประเทศเพื่อนบานใด แรงงานตางดาวที่เขามา

                    ในประเทศไทยนั้น เนื่องจากเศรษฐกิจการเมืองของประเทศตนเองนั้นยังไมพัฒนามากนั้น ดังนั้นการมี

                    หนทางมาทำงานในประเทศไทยจึงถือเปนทางเลือกในการหารายไดที่สูงกวารายไดในประเทศตนเอง
                    (ภาพที่ 4. 3)


                             ดวยในกฎหมายของประเทศไทยไดกำหนดอาชีพการหามแรงงานตางดาวในการประกอบ

                    อาชีพ ตามพ.ร.ก.กำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่หามคนตางดาวทำ พ.ศ.2522 ซึ่งการทำประมงถือ
                    เปนอาชีพหนึ่งที่ไมอนุญาตใหคนตางดาวทำ ดังนั้นการทำงานของแรงงานตางดาวจึงถูกนำเขามาอยาง

                    ไมถูกตอง โดยนายหนานอกระบบ ทำใหไมมีความจำเปนที่จะตองดูแลแรงงานตามกฎหมายทั้งในเรื่อง
                    คาแรง คาลวงเวลา และสวัสดิการตางๆ และถูกกดขี่ในการทำงานเพื่อสรางประโยชนมากที่สุดของ

                    ผูประกอบการเรือประมง ซึ่งไมมีหนวยงานเขามาตรวจสอบได เนื่องจากไมสามารถตรวจสอบทะเบียน
                    การทำงานได (จารุพล เรืองสุวรรณ, 2561) ซึ่งไดปฏิบัติจนเคยชินและพฤติกรรมนายจางยังคงไม

                                                       หนา | 78
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93