Page 62 -
P. 62

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                          Y= ผลผลิตที่คาดหวังตอไร (จากการเลี้ยงที่ผานมา)
                          W 1=น้ำหนักเฉลี่ยของลูกพันธุขณะปลอย (กิโลกรัม)

                          W 2=น้ำหนักเฉลี่ยของลูกพันธุขณะจับ (กิโลกรัม)
                          H = อัตราการจับ (รอยละ)




                          ลูกพันธุโดยปกติแลวจะมีหลายขนาด ตั้งแต ขนาดเซนติเมตร หรือขนาดนิ้ว ซึ่งจะมีชื่อเรียก

                    แตกตางกัน เชน ใบมะขามซึ่งจะมีขนาดเล็กมาก (0.5 เซนติเมตร) ปลาเซ็นตจะมีขนาดโตขึ้นมาเปน

                    ขนาดเซนติเมตร (1-3 เซนติเมตร) และปลานิ้ว ขนาดจะเปน 3-5 นิ้ว หากลูกพันธุมีขนาดที่โตขึ้น ราคา
                    และอัตราการรอดจะสูงตามไปดวย


                          อาหารของสัตวน้ำแบงออกเปนอาหารหลักและอาหารเสริม อาหารหลักของสัตวน้ำถือเปน

                    สัดสวนที่มีตนทุนในการเลี้ยงมากที่สุด (มากกวารอยละ 50) โดยปกติสามารถเปนอาหารสดซึ่งไดมาจาก

                    ปลาเปดหรือปลาเลยที่เปนสัตวน้ำที่จับมาแลวมีขนาดเล็กไมสามารถขายในราคาปลาขนาดตลาดได ใน

                    อดีตราคาอาหารสดไมสูงมาก แตปจจุบันมีราคาสูงขึ้นและหาไดยากขึ้นเนื่องจากปริมาณการจับสัตวน้ำ

                    จากธรรมชาตินั้นลดลง ผูประกอบการอาหารสัตวน้ำ ไดผลิตอาหารสัตวน้ำเปนในลักษณะอาหารเม็ด
                    โดยมีการฝกสัตวน้ำใหกินอาหารเม็ด และการใหอาหารเม็ดจะเปนสัดสวนที่สามารถกำหนดปริมาณ

                    สารอาหารชัดเจนมีมาตรฐานกวาอาหารสด อยางไรก็ตามตนทุนของอาหารเม็ดคอนขางจะสูงทำให

                    เกษตรกรตองพิจารณา โดยปกติจะพิจารณาจาก คาอัตราแลกเนื้อ (conversion ratio) ที่เปนสัดสวน

                    การใหอาหารตอปริมาณน้ำหนักของสัตวน้ำที่เลี้ยงได เชน หากคาอัตราแลกเนื้อเทากับ 2:1 นั้นหมายถึง

                    การใหอาหาร 2 กิโลกรัม จะไดเนื้อสัตวน้ำ 1 กิโลกรัม ซึ่งจะนำไปคำนวณตนทุนคาอาหารสัตวน้ำ โดยมี

                    สูตรการคำนวณดังนี้


                          ตนทุนคาอาหารสัตวน้ำตอหนวย = อัตราแลกเนื้อ x ราคาอาหารสัตวน้ำตอหนวย


                          จากสูตรการคำนวณจะเห็นไดวา หากอัตราแลกเนื้อมีคานอย นั้นหมายถึงการใหอาหารสัตวน้ำ

                    ไมมาก จะไดปริมาณสัตวน้ำที่มากกวา ซึ่งตองพิจารณาราคาตอหนวยดวย โดยปกติหากอัตราแลกนอยมี
                    คานอย ราคาของอาหารสัตวน้ำจะสูง เกษตรกรตองมีการเปรียบเทียบวาสุดทายแลว ตนทุนคาอาหาร

                    ในแบบใดที่ต่ำกวา









                                                        หนา | 50
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67