Page 67 -
P. 67

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                ฟงกชั่นที่นิยมมากที่สุดในการอธิบายความสัมพันธของการผลิตคือ Cobb Douglas เพราะเปน

                         ฟงกชั่นที่สามารถอธิบายใหเขาใจงาย  David L.Debertin (2012) ไดอธิบายรูปแบบฟงกชั่นของ Cobb

                         Douglas แบบ Early Generalizations ดังสมการที่ 3.1


                                Y = Ax 1 x 2 x 3 x 4 …x n ..................3. 1
                                                    bn
                                      b1 b2 b3 b4
                                โดยกำหนดให


                                             Y      =      ผลผลิต
                                             A      =      คาคงที่

                                      X 1, X 2,…..,X n  =   ปจจัยการผลิตผันแปรชนิดตาง ๆ

                                      b 1,b 2,…….,b n  =   คาสัมประสิทธิ์การผลิตของปจจัย X1, X2,…..,Xn

                         ตามลำดับ




                                การวิเคราะหประสิทธิภาพการผลิตทางเทคนิค


                                การวิเคราะหประสิทธิภาพการผลิตทางเทคนิค (Technical Efficiency) เปนการวิเคราะหวา

                         ผลผลิตที่ไดจากการใชปจจัยผันแปรตางๆ มีการใชปจจัยการผลิตอยางมีประสิทธิภาพหรือไม ซึ่ง

                         พิจารณาไดจากผลิตภาพเพิ่มหรือ Marginal Physical Product (MPP) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของ
                         ผลผลิต อันเนื่องมาจากการใชปจจัยผันแปรชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หนวย หรือหมายถึงการใชปจจัยผันแปร

                         ที่เพิ่มขึ้นแตละหนวย จะทำใหผลผลิตเพิ่มขึ้นมากนอยเพียงใด หากผลผลิตสามารถเพิ่มขึ้นไดมากกวา 1

                         จะแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพการใชปจจัยการผลิตไดดีระดับหนึ่ง หรือหากผลผลิตเพิ่มลดลง อาจ

                         แสดงใหเห็นวาการใชปจจัยการผลิตนั้นยังมีประสิทธิภาพไมเพียงพอ ทั้งนี้กําหนดใหปจจัยผันแปรชนิด

                         อื่นๆ คงที่ ในการคํานวณผลิตภาพเพิ่มขึ้นของปจจัยการผลิตแสดงไดโดย (ศรัณย วรรธนัจฉริยา, 2539)
                         อางถึงสมการที่ 3.1


                                                                                 bn
                                                                     b1
                                                                         b2
                                                 Y         =     AX 1  X 2  ………X n
                                เมื่อคำนวณการใชปจจัยการผลิตผันแปรเพิ่มแตละชนิด เพื่อใหไดผลผลิตเพิ่ม/ลด ดังแสดงใน

                         สมการ 3.2-3.4







                                                             หนา | 55
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72