Page 72 -
P. 72
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รอยละ 0.4008 สำหรับขนาดของบอที่ไมมีนัยสำคัญทางสถิติ หากขนาดของบอเลี้ยงเพิ่มขึ้นรอยละ 1
จะทำใหเลี้ยงปลานิลเพิ่มรอยละ 0.1036 ทั้งนี้แตละปจจัยที่พิจารณา จะกำหนดใหปจจัยอื่นๆ คงที่ เมื่อ
คำนวณคาความยืดหยุนของปจจัยการผลิตทั้งหมดที่มีนัยสำคัญทางสถิติมารวมกันมีคาเทากับ 1.5024
ซึ่งแสดงใหเห็นวาอยูในระยะผลตอบแทนตอขนาดการผลิตเพิ่มขึ้น (Increasing returns to scale) ซึ่ง
หมายถึงการผลิตสามารถเพิ่มปจจัยการผลิตไดอีก หากมีการเพิ่มปจจัยการผลิตที่มีนัยสำคัญ ไดแก
จำนวนลูกพันธุ ปริมาณอาหาร และจำนวนแรงงาน รอยละ 1 จะทำใหผลผลิตปลานิลยังคงเพิ่มขึ้น
มากกวารอยละ 1
ตารางที่ 3. 3 แบบจำลองการผลิตของผูเพาะเลี้ยงปลานิลในบอดิน ในรูป Linear Natural Logarithm
ปจจัยการผลิต คาสัมประสิทธิ์ ความคลาด t-value ระดับความมี
เคลื่อนมาตรฐาน นัยสำคัญ
(คาความยืดหยุน)
คาคงที่ -4.1111 0.92560 -4.44 0.000***
จำนวนลูกพันธุปลานิล (X 1) 0.5389 0.1519 3.55 0.000***
ปริมาณอาหาร (X 2) 0.5627 0.1270 4.43 0.000***
จำนวนแรงงาน (X 3) 0.4008 0.1032 3.88 0.000***
ขนาดของบอเลี้ยง (X 4) 0.1036 0.0849 1.22 0.223
ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพการใชปจจัยการผลิต สามารถวัดได 2 ดาน คือ ประสิทธิภาพการ
ใชปจจัยการผลิตทางดานเทคนิค และดานเศรษฐกิจ จากแบบจำลองคอบดักลาส
lnY = -4.1111 + 0.5389lnX1 + 0.5627lnX2 + 0.4008lnX3 + 0.1036 lnX4
โดยแทนคามัธยฐานของตัวแปรอิสระแตละชนิดเพื่อหา Y
ln Y = -4.1111 + 0.5389ln(3789.054) + 0.5627ln(8571.99) + 0.4008ln(148.83)+
0.1036 ln(2.625)
In Y = 7.8593 ดังนั้น Y = 2589.7224
คำนวณคาผลผลิตเพิ่มแตละการใชปจจัยการผลิตดังนี้
MPP x1 = ( . ) ( . ) = 0.3683
.
หนา | 60