Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                         มีความสัมพันธมาก สำหรับคา VIF  (Variance Inflation Factor) คา VIF เปนตัววัดที่แสดงใหเห็นวา

                         ถาตัวแปรทำนายนั้นมีความสัมพันธกันจะทำใหความแปรปรวนของคาสัมประสิทธิ์ของตัวแบบการ

                         ถดถอยจะมีคาเพิ่มขึ้น และเมื่อความแปรปรวนของเพิ่มขึ้นแปลวาความนาเชื่อถือของตัวแบบคง
                         ลดลง  ถาคา VIF นอยจะแสดงถึงความสัมพันธของตัวแปรที่พิจารณามีความสัมพันธนอย ทั้งนี้จะเห็นได

                         วา ตัวแปรทุกตัวที่พิจารณามีความสัมพันธกันนอยจากทั้งสองเกณฑการพิจารณา


                         ตารางที่ 3. 2 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation coefficient) ของผูเพาะเลี้ยงปลานิลในบอดิน


                          ตัวแปร                   อัตราความแปรปรวนเฟอ          ความคลาดเครียดยินยอม

                                                            (VIF)                    (Tolerance)
                          จำนวนลูกพันธุปลานิล (X 1)        2.39                         0.42
                          ปริมาณอาหาร (X 2)                 2.06                         0.48

                          จำนวนแรงงาน (X 3)                 1.34                         0.75
                          ขนาดของบอเลี้ยง (X 4)            1.09                         0.92

                         ที่มา: ศุภลักษณ มะลิทอง (2559)

                                ผลการวิเคราะหสมการการผลิตของผูเพาะเลี้ยงปลานิลในบอดิน



                                ในการวิเคราะหแบบจำลองการผลิตของผูเพาะเลี้ยงปลานิล พบวา เมื่อปรับแบบจำลองใหอยู
                         ในรูป Linear Natural Logarithm  การทดสอบนัยสำคัญทางสถิติของคาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรอิสระ

                         ทุกตัว พบวา จำนวนลูกพันธุ (X 1) ปริมาณอาหาร (X 2) จำนวนแรงงาน (X 3) มีผลตอการผลิตปลานิล

                         อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญรอยละ 95 ทั้งนี้คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรอิสระทุกตัวเปน

                         บวก ซึ่งหมายความวาหากมีการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระ จะทำใหผลผลิตปลานิดเปลี่ยนแปลงไป

                         ทิศทางเดียวกัน


                                 อยางไรก็ในแบบจำลอง คอบบ-ดักลาส ในรูปแบบ Linear Natural Logarithm นั้นบอกเพียง

                         วาปจจัยการผลิตชนิดใดบางมีผลอยางมีนัยสำคัญตอผลผลิตปลานิล และปจจัยการผลิตแตละชนิดมี
                         ความสัมพันธในทิศทางใดกับผลผลิตปลานิล ดังนั้นจึงตองวิเคราะหวาเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตแตละ

                         ชนิดทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอผลผลิตอยางไร โดยการพิจารณาจากคาความยืดหยุน  ซึ่งพบวา คา

                         ยืดหยุนตอปริมาณอาหารปลาที่ใชมีคามากที่สุด หากเพิ่มปริมาณอาหารปลารอยละ 1 จะทำใหเลี้ยง

                         ปลานิลไดเพิ่มรอยละ 0.567 รองลงมาคือ จำนวนลูกปลานิลที่ปลอย หากเพิ่มจำนวนลูกพันธุรอยละ 1

                         จะทำใหเลี้ยงปลานิลเพิ่มรอยละ 0.5389 หากเพิ่มจำนวนแรงงานรอยละ 1 จะทำใหผลผลิตปลานิลเพิ่ม



                                                             หนา | 59
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76