Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว








                                                          bn-1 b1 b2
                                                                        bn-1
                                               =      ab nx n x 1 x 2 …x n-1           ...............3. 15

                    กําหนดให


                          VMP xi   =    มูลคาผลผลิตเพิ่มของปจจัยการผลิตที่ i (i = 1, 2, 3, …., n)

                          MFC    =      ตนทุนเพิ่มจากการใชปจจัยการผลิต

                          P xi     =    ราคาของปจจัยการผลิตชนิดที่ i (i = 1, 2, 3, …., n)

                          P y     =     ราคาผลผลิต
                          MPP xi   =    ผลผลิตเพิ่มของการใชปจจัยการผลิต x ที่ i (i = 1, 2, 3, …., n)




                    จะใชสมการที่ 13.13 และสมการที่ 13.14 ในการคํานวณหาขนาดการใชปจจัยการผลิตแตละชนิด

                    เพื่อใหไดกําไรสูงสุด


                          กรณีศึกษา จากการวิเคราะหประสิทธิภาพการผลิตของการเลี้ยงปลานิลในบอดินในจังหวัด

                    เชียงราย (ศุภลักษณ มะลิทอง และคณะ, 2559) ไดกำหนดปจจัยที่สงผลกระทบตอการเพาะเลี้ยงปลา

                    นิลในบอดินดังนี้


                         Y       =      ผลผลิตปลานิล (กิโลกรัมตอบอตอรุน)
                         X 1     =      อัตราความหนาแนนในการปลอยพันธุปลานิล (ตัวตอบอตอรุน)

                         X 2     =      ปริมาณอาหาร  (กิโลกรัมตอบอตอรุน)
                         X 3     =      จำนวนแรงงาน (ชั่วโมงทำงานตอบอตอรุน)

                         X 4     =      ขนาดของบอเลี้ยง (ไร)

                          ผลการวิเคราะหแบบจำลองการผลิตปลานิล


                          การศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอการผลิต รวมถึงรูปแบบและความสัมพันธระหวางปจจัยการ

                    ผลิตตาง ๆ กับผลผลิตโดยใชสมการการผลิตแบบคอบบ-ดักลาส (Cobb-Douglas production

                    function) ซึ่งปจจัยการผลิตที่จะนำมาพิจารณาในการศึกษาครั้งนี้ประกอบดวย อัตราความหนาแนนใน

                    การปลอยพันธุปลานิล ปริมาณอาหาร จำนวนแรงงาน และขนาดของบอเลี้ยง จาก ตารางที่ 3. 2  การ

                    ตรวจสอบปญหาความสัมพันธระหวางตัวแปร (Multicollinearity) โดยการพิจารณาคา Tolerance

                    หากใกล 1 แสดงถึงตัวแปรที่พิจารณามีความสัมพันธนอย  แตหากเขาใกล 0 แสดงถึงตัวแปรที่พิจารณา



                                                        หนา | 58
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75