Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                         เมตร มีอายุการใชงาน 13 ป แตละรอบการเลี้ยงใชเวลา 0.975 เดือน หรือประมาณ 30 วัน โดยมี

                         ตนทุนคงที่ ไดแก คาเสื่อมบอดิน คาเสื่อมโรงเรือน คาเสื่อมอุปกรณตางๆ รวมทั้งหมดคิดเปนสัดสวน

                         รอยละ 28 และตนทุนผันแปร มีสัดสวนของคาอาหารรอยละ 34 มากที่สุด รองลงมาเปนคาลูกพันธุที่
                         ซื้อมาอนุบาลรอยละ 21 และคาสาธารณูปโภค รอยละ 17 นอกนั้นจะประกอบดวยคาภาชนะบรรจุ คา

                         ขนสง คาใชจายในการบริหาร การสูญเสียลูกพันธุ คาดอกเบี้ย และคานายหนา ตนทุนรวมทั้งหมด

                         เทากับ 6,640.19 บาท/ลบม./รอบ จำนวนลูกปลาขนาดเซนติเมตรเทากับ 12,056 ตัว/ลบม./รอบ

                         ราคา 0.28 บาท/ตัว จำนวนลูกปลาขนาดนิ้วมีจำนวน 2,457 ตัว/ลบม./รอบ ราคาเทากับ 2.37 บาท/

                         ตัว รวมรายรับทั้งหมด 9,252.26 บาท/ลบม./รอบ คิดเปนรายรับเหนือตนทุนเทากับ 2,612.07 บาท/

                         ลบม./รอบ ดังภาพ 3.4


                                3.2.2 การวิเคราะหเศรษฐกิจฟารมเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ


                                การจัดการฟารมสัตวน้ำใหมีประสิทธิภาพ ตองประกอบไปดวยองคประกอบในหลายๆ ดาน

                         เชน รูปแบบของการเลี้ยง การเลือกพื้นที่ในการเลี้ยง การเลือกพันธุสัตวน้ำที่เปนที่ตองการของตลาด
                         การปลอยพันธสัตวน้ำ การใหอาหารและอาหารเสริม รวมทั้งการหาตลาดในการขาย


                                รูปแบบของการเพาะเลี้ยง โดยปกติการเพาะเลี้ยงสามารถเลี้ยงในแบบเลี้ยงในกระชังในทะเล

                         หรือแมน้ำ การเพาะเลี้ยงแบบเชือกแขวนซึ่งจะนิยมในการเพาะเลี้ยงหอย การเพาะเลี้ยงในบอดินซึ่งจะ

                         ไดทั้งการเลี้ยงน้ำเค็ม น้ำกรอย หรือน้ำจืด และการเลี้ยงในบอซีเมนต


                                หลักของการเพิ่มปริมาณผลผลิตสัตวน้ำ ผูเลี้ยงจะตองใหความสำคัญกับการวางแผนในการ

                         เลี้ยง วาจะตัดสินใจเลี้ยงสัตวน้ำแบบเชิงเดี่ยวหรือ แบบผสมผสาน การจัดการระบบน้ำที่มีการสราง

                         ออกซิเจนที่เพียงพอตอการเลี้ยง อุณหภูมิที่เหมาะสม การจัดการโรคและปรสิต


                                ปริมาณการปลอยลูกพันธุที่มีอัตรารอดสูง และเหมาะสมการคำนวณปริมาณการปลอยลูกพันธุ
                         ในบอเลี้ยง โดยปกติจะประมาณจากสูตรทั่วไปดังนี้



                                                                        
                                                             (   −    )
                                                          =
                                                                    

                                S= อัตราการปลอยลูกพันธุสัตวน้ำ

                                L= ขนาดของบอปลา (ไร)



                                                             หนา | 49
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66