Page 8 -
P. 8

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                      ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย

                                        บทที่ 1



                                 ค ำถำมที่พบบ่อยกับ

                      สิ่งที่ต้องท ำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรแปล



                     ค าถามที่ผู้เขียนในฐานะผู้สอนได้ยินบ่อยที่สุดในห้องเรียน

              ทักษะภาษาจีนและห้องเรียนการแปลภาษาจีนคือ “ประโยคนี้หนู/ผม
              เข้าใจ แต่ไม่รู้ท าไมแปลเป็นไทยไม่ได้” ส่วนค าถามที่ผู้เรียนที่ไม่

              สนใจการแปลมักถามคือ“ไม่แปลไม่ได้หรือ รู้ภาษาจีนดี สื่อสารได้ก็
              พอแล้ว” ตรงกันข้ามกับค าถามของผู้เรียนที่สนใจการแปลซึ่งมักถาม

              ว่า “ถ้าอยากเป็นนักแปล ต้องท าอย่างไร” และบางครั้งอาจได้ยิน
              ค าถามว่า “ต้องสอบ HSK ได้ระดับไหนจึงจะเป็นนักแปลได้”

              ค าถามเหล่านี้เป็นเรื่องที่ต้องท าความเข้าใจกับผู้เรียนก่อนที่จะพูดคุย

              เรื่องทฤษฎีการแปล

                     เมื่อได้ยินค าถามเชิงบ่นระดับคลาสสิคที่ว่า “เข้าใจ แต่ไม่รู้
              ท าไมแปลเป็นไทยไม่ได้” ผู้เขียนในฐานะผู้สอนจะตั้งค าถามไว้ก่อนว่า

              สิ่งที่ผู้เรียนบอกว่าเข้าใจต้นฉบับภาษาจีนนั้น เป็นความเข้าใจที่
              แท้จริงหรือไม่ เพราะถ้าเข้าใจแล้วก็น่าจะแปลเป็นภาษาไทยซึ่งเป็น

              ภาษาแม่ได้ เมื่อลองถามตอบเป็นภาษาจีนหรือถามตอบเป็น

              ภาษาไทยด้วยค าถามแยกเป็นข้อๆ เช่น ใคร ท าอะไร ที่ไหน
              อย่างไร เมื่อไร อย่างไร เพราะเหตุใด ฯลฯ แล้วผู้เรียนตอบไม่ได้

              หรือตอบคลาดเคลื่อนไป ก็สามารถสรุปได้ว่าความเข้าใจที่ผู้เรียนมี

              บทที่ 1 ค าถามที่พบบ่อยกับสิ่งที่ต้องท าความเข้าใจเกี่ยวกับการแปล                                                   1
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13