Page 5 -
P. 5

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




              ต่อเนื่อง “ทักษะกำรแปลภำษำจีนเป็นภำษำไทย”  มุ่งเน้นให้ผู้สนใจเห็น
              ควำมส ำคัญของกำรแปล สร้ำงควำมตระหนักรู้ในควำมแตกต่ำงของ

              ภำษำจีนกับภำษำไทย เข้ำใจปัญหำในกำรแปลภำษำจีนเป็นภำษำไทย
              รู้วิธีกำรปรับบทแปลอย่ำงเหมำะสม อันจะท ำให้เกิดพื้นฐำนที่ดีในกำร

              แปลภำษำจีนเป็นภำษำไทย ส่งผลดีกับวงกำรแปลภำษำจีนต่อไป
                     อนึ่ง ผู้เขียนเคยสรุปหลักกำรจำกปัญหำในกำรแปลไว้ 10 ด้ำน
              เป็น “หลักและข้อควรระวังในกำรแปลภำษำไทยเป็นภำษำจีน” อยู่ในบท

              ที่ 2 ของต ำรำ “กำรแปลภำษำไทยเป็นภำษำจีน”  และต่อมำได้ร่วมกับ
              ดร.ศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรม ปรับตัวอย่ำงกำรแปลภำษำไทยเป็น

              ภำษำจีนที่มีอยู่เดิม เพิ่มตัวอย่ำงกำรแปลภำษำจีนเป็นภำษำไทย พัฒนำ
              เป็นบทควำม “หลักและข้อควรระวังในกำรแปลจีน-ไทย ไทย-จีน”
              เผยแพร่ในวำรสำรจีนศึกษำ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่

              2 ผู้สนใจสำมำรถดำวน์โหลดค้นหำและดำวน์โหลดทั้งต ำรำและบทควำม
              ดังกล่ำวได้ ในหนังสือเล่มนี้มีหลักคิดที่เชื่อมโยงกับหลักกำรทั้ง 10 ข้อ

              นั้น แต่จะชี้ประเด็นเฉพำะปัญหำที่ผู้เขียนพบบ่อยเมื่อตรวจงำน
              แปลภำษำจีนเป็นภำษำไทย โดยรวบรวมวิธีกำรแก้ปัญหำเหล่ำนี้ออกมำ
              เป็นข้อๆ พร้อมยกตัวอย่ำงประกอบและอธิบำยให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่ำน

              เข้ำใจและน ำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
                     ขอขอบคุณศำสตรำจำรย์กุลวดี มกรำภิรมย์ ผู้เปิดทำงให้ผู้เขียน

              ได้แนวคิดที่ดีในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน ศำสตรำจำรย์สุพรรณี ปิ่นมณี ซึ่ง
              เป็นแรงบันดำลใจในกำรเขียน ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ถำวร สิกขโกศลและ
              รองศำสตรำจำรย์ ดร.ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์อำจำรย์ผู้มีพระคุณซึ่งได้เป็น

              ผู้น ำผู้เขียนเข้ำสู่วงกำรแปลตั้งแต่สมัยเรียนมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์
              คณำจำรย์ที่มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ทุกท่ำนที่ได้ประสิทธิประสำทวิชำ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10