Page 193 -
P. 193

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


              กนกพร นุ่มทอง

              ประวัติศาสตร์ไทยในเอกสารภาษาจีน ส านักเลขาธิการ

              นายกรัฐมนตรี พิมพ์ในปี พ.ศ.2543 และ “หลักเกณฑ์การทับศัพท์

              ภาษาจีนและภาษาฮินดี”   ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งส านัก
              นายกรัฐมนตรีได้ประกาศใช้ในปี พ.ศ.2548 และต่อมายกเลิก

              ประกาศใช้ฉบับใหม่ในปี พ.ศ.2549 และประกาศในราชกิจจา
              นุเบกษา ในปี พ.ศ.2550 ทั้งสองเกณฑ์สามารถดาวน์โหลดมาศึกษา

              ได้ เกณฑ์ทั้งสองมีข้อดีต่างกันไป กล่าวคือเกณฑ์ของส านัก
              เลขาธิการนายกรัฐมนตรีมีการจัดท าตาราง “หน่วยพยางค์ภาษาจีน

              แมนดาริน สะกดด้วยอักขรวิธีไทย” แยกทุกเสียง ไล่ตามวรรณยุกต์

              ต่างๆ จึงเป็นการง่ายในการค้นคว้าและสะดวกส าหรับผู้ไม่ช านาญ
              เรื่องวรรณยุกต์ ส่วนเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถานนั้นแม้จะไม่มี

              ตารางดังกล่าว แต่ถ้าศึกษาค าอธิบายที่ให้ก็จะสามารถน าไปปรับ
              ใช้ได้ไม่ยาก และฉบับที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในปี พ.ศ.2550

              นั้นมีความยืดหยุ่นเพราะอนุญาตให้ถอดได้ทั้งเสียงสั้นและเสียงยาว
              รายละเอียดของความแตกต่างนั้นขอให้ผู้สนใจการแปลศึกษาด้วย

              ตนเอง เพราะเกณฑ์ทั้งสองได้อธิบายหลักในการทับศัพท์และถ่าย
              ถอดเสียงพร้อมยกตัวอย่างไว้อย่างละเอียดดีแล้ว ผู้แปลสามารถ

              เลือกใช้ได้ตามที่เห็นสมควร แต่เมื่อเลือกใช้เกณฑ์ใด ก็ให้ใช้เป็น
              มาตรฐานเดียวกันในชิ้นงาน อย่าให้เกิดความลักลั่นในชิ้นงานนั้น


                     หากไม่ใช้ตามเกณฑ์ที่ทางราชการมีก าหนดออกมาทั้งสอง
              เกณฑ์นั้นได้หรือไม่ ต้องค านึงตามหลักการก่อนว่า





              186                                  บทที่ 8 การทับศัพท์หรือการถ่ายถอดเสียงภาษาจีนเป็นภาษาไทย
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198