Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

              พจนานุกรมศัพท์ปุ๋ยและธาตุอาหารพืช




            acidification กำรท�ำให้เป็นกรด : การลดลงของ pH ดิน เนื่องจากการเพิ่มไฮโดรเจนไอออน และ/หรือ
                  การลดลงของแคตไอออนชนิดเบส (ส่วนมากคือแคลเซียมและแมกนีเซียมไอออน) ในดินเนื่องจาก
                  การชะละลายหรือรากพืชดูดไปใช้

            acidity สภำพกรด : สภาพทางเคมีของสารละลายซึ่งความเข้มข้นของ H  สูงกว่า OH (เมื่อ -ty อยู่
                                                                                 -
                                                                      +
                  ท้ายค�า ให้ขึ้นต้นค�านั้นว่า “สภาพ-” เช่น absorptivity-สภาพดูดกลืน, conductivity-สภาพน�า
                  หรือต่อท้ายค�าด้วย “-ภาพ” เช่น affinity-สัมพรรคภาพ, activity-กัมมันตภาพ)
            acidity, soil สภำพกรดของดิน : ปริมาณกรดที่มีอยู่ในดิน หรือเรื่องราวของดินกรด (pH<7) ในด้าน
                  ความรุนแรงของสภาพกรด  ซึ่งแสดงได้ด้วยค่า  pH  ของดิน  เช่น  กรดเล็กน้อย  (พีเอช  6.1-6.5)

                  กรดปานกลาง (พีเอช 5.6-6.0) และกรดจัด (พีเอช 5.1-5.5) ดูสภาพด่างของดิน (alkalinity, soil)
                  และ pH ประกอบ
            acidity  of  fertilizers  สภำพกรดของปุ๋ย  :  (1)  ค่าพีเอช  (pH)  ของสารละลายปุ๋ยหรือปุ๋ยเหลว  ซึ่ง

                  ต�่ากว่า 7 น�ามาพิจารณาเมื่อใช้ปุ๋ยต่างชนิดร่วมกัน หรือใช้ปุ๋ยร่วมกับสารควบคุมศัตรูพืช (2) ผล
                  ด้านการเพิ่มสภาพกรดในดินอันเนื่องจากการใส่ปุ๋ยเคมีพวกปุ๋ยก่อกรด  (acid  forming  fertilizers)
                  คือ  ปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนตที่ต้องใช้  เพื่อท�าให้กรดในดินอันเกิดจากปุ๋ยกลายเป็นกลาง

                  ซึ่งเรียกว่า  “สภาพกรดสมมูล  (equivalent  acidity)”  ดูความหมายของ  equivalent  acidity
                  ประกอบ เปรียบเทียบกับ basicity of fertilizers

            acidophile พวกชอบกรด : สิ่งมีชีวิตที่เติบโตได้ดีในสภาพที่เป็นกรด
            acidulation กำรท�ำปฏิกิริยำกับกรด : กระบวนการผลิตปุ๋ยที่ใช้กรดท�าปฏิกิริยากับวัตถุดิบ ซึ่งส่วนมาก
                  ได้แก่  การใช้กรดซัลฟิวริก  กรดไนทริก  กรดฟอสฟอริก  หรือกรดผสมท�าปฏิกิริยากับหินฟอสเฟต

                  หรือแอมโมเนีย
            acropetal สู่ปลำย : ทิศทางการเคลื่อนย้ายของสาร ธาตุอาหารหรือฮอร์โมน จากส่วนล่างไปหาส่วนยอด

                  ของพืช
            actin แอกทิน : โกลบูลาโปรตีน (globular protein) ซึ่งอยู่ในโครงสร้างของเซลล์ มีบทบาทท�าให้เซลล์
                  เปลี่ยนรูปร่างได้ โปรตีนมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (globular, L: กลม)

            actinomycetes แอกทิโนไมซีต : ชื่อสกุลแบคทีเรียซึ่งสร้างโคโลนีเป็นแฉกรูปดาว (actino-, L: รัศมี
                  หรือแฉก) ลักษณะบางอย่างคล้ายรา มีบทบาทในการย่อยสลายสารอินทรีย์ที่สลายยากในดิน เช่น
                  เซลลูโลสและไคติน

            action  spectrum  สเปกตรัมกิริยำ  : ช่วงความยาวคลื่นของแสงแต่ละช่วง ที่สามารถก่อให้เกิดผล
                  ในการสังเคราะห์แสง  วัดโดยการฉายแสงทีละช่วงความยาวคลื่นไปยังคลอโรพลาสต์  แล้ววัด
                  ปริมาณออกซิเจนที่เกิดขึ้น น�าผลที่ได้ทั้งหมดมาแสดงเป็นโพรไฟล์ (profile)




               48       40 ปี
                        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53